สถิติผู้เข้าชมเว็บ
วันนี้
68
เมื่อวาน
78
เดือนนี้
1,962
เดือนที่แล้ว
3,401
ปีนี้
10,190
ปีที่แล้ว
31,384

ค้นหาสมุนไพร
<< ย้อนกลับ


» ข้อมูลทั่วไปขันทองพยาบาท
ชื่อพื้นเมือง/ท้องถิ่น : ดูกใส
ชื่อสามัญ : ขันทองพยาบาท
ชื่อวิทยาศาสตร์ :

Suregada multiflorum (A.Juss.) Baill.


ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE

» ส่วนที่ใช้ : แก่น
» วิธีการใช้ : ต้มดื่ม หรือ ดองเหล้ากับสมุนไพรอื่นและแมงป่อง
» ลักษณะวิสัยขันทองพยาบาท :

เป็นไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 8-10 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องเล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนาน ออกเรียงสลับ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบเป็นมันวาว ใบค่อนข้างหนา (ชฎาพร เสนาคุณ, สุรพล แสนสุข และ คณะ , 2559) ดอกมีสีเขียวเหลืองอ่อน กลิ่นหอม ดอกเป็นดอกช่อกระจุก ออกตามซอก ดอกเพศเมียจะมีลักษณะ มีรังไข่ 3 ช่อง รังไข่มีขนละเอียดและมีหมอนรองดอก ผลมีลักษณะเกือบกลม ผิวผลเกลี้ยง มีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว แบ่งเป็น 3 พูหรือ 3 ซีก ชัดเจน ผลสุกมีสีเหลือง แตกตามพู มี 3 เมล็ด (https://medthai.com/)


» สรรพคุณ ขันทองพยาบาท :

เข้าตำรับยากับสมุนไพรชนิดอื่น แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้โรคไต


» เสียง (Podcast) :
ผู้บันทึกเสียง ดุลยภัทร ชำนิเกล้า

วันที่ลงข้อมูล : 24/09/2563 11:07:16
จำนวนผู้เยี่ยมชม : 470 คน

รูปภาพเพิ่มเติม


* ไม่มีภาพ *