Page 79 - แผนปฏิบัติราชการ-2564
P. 79
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๓.๖๐
เป้าประสงค์ ๒.๑ โรงเรียนมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในการแจ้งเตือนโดยมีการพัฒนาช่องทางสื่อสารโดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในด้านการการ
สอนและกิจกรรมต่าง ๆ
ตัวชี้วัด ๒.๑.๑ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ำให้มีผลการเรียนที่ดีขึ้น ๐.๔๕
ตัวชี้วัด ๒.๑.๒ ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครองที่ได้รับการแจ้งเตือนเรื่องพฤติกรรมของนักเรียนจากระบบ Warning System * ๐.๔๕
เป้าประสงค์ ๒.๒ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสื่อสารกับผู้ปกครองของนักเรียน เกี่ยวกับเรื่องการเรียนการสอนและกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด ๒.๒.๑ ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครองหรือนักเรียนที่มีต่อระบบการดูแลช่วยเหลือของที่ปรึกษา * ๐.๔๕
ตัวชี้วัด ๒.๒.๒ ระดับความสำเร็จของการจัดหาหรือพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ๐.๔๕
เป้าประสงค์ ๒.๓ ครูที่ปรึกษามีบทบาทในกิจกรรมการเยี่ยมบ้านหรือหอพักเพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนเป็นรายคนและค้นหาศักยภาพของนักเรียนในชั้น
เรียน
ตัวชี้วัด ๒.๓ ระดับความสำเร็จของนักเรียนที่ได้รับการเยี่ยมบ้านหรือหอพักเพื่อกำกับติดตามและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการเรียนรู้ * ๐.๔๕
เป้าประสงค์ ๒.๔ พัฒนากิจกรรมพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Helping) ในการพัฒนาความเป็นเลิศ และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน
ตลอดทั้งปลูกฝังจิตใจที่ดีงามกับนักเรียน
ตัวชี้วัด ๒.๔ ระดับความสำเร็จและความพึงพอใจของกิจกรรมพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Helping) ในการพัฒนาความเป็นเลิศและส่งเสริม
ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน * ๐.๔๕
เป้าประสงค์ ๒.๕ โรงเรียนมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสะท้อนปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียนโดยใช้อาศัยการร่วมสังเกตในชั้นเรียน
ตัวชี้วัด ๒.๕.๑ ระดับความสำเร็จของการเข้าร่วมประชุมระดับห้องเรียนและระดับเครือข่าย ๐.๔๕
ตัวชี้วัด ๒.๕.๒ ระดับความสำเร็จของผู้ปกครองที่เข้าร่วมสังเกตชั้นเรียน ๐.๔๕
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาระบบกิจกรรมพิเศษที่มุ่งพัฒนาศักยภาพนักเรียนทั้งในห้องเรียนและในสถานการณ์จริง ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ๓.๑๕
และการแข่งขันภายนอก
เป้าประสงค์ ๓.๑ โรงเรียนมีกิจกรรมเพื่อพัฒนาความใกล้ชิดระหว่างครูที่ปรึกษาเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดของผู้เรียนอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด ๓.๑ ระดับความสำเร็จของการทำกิจกรรมระหว่างนักเรียนและอาจารย์ที่ปรึกษา ๐.๔๕
๗๖