Page 3 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 3
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ค าน า
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อน าไปสู่การ
พัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของ
หลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการน าหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษา โดยได้มีการก าหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดท าหลักสูตร การเรียนการสอน
ในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้ก าหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้
ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้
ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทาง
การศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการน าไปปฏิบัติ ได้ประกาศใช้
หลักสูตร
เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดท าขึ้นส าหรับท้องถิ่นและ
สถานศึกษา ได้น าไปใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อ
พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จ าเป็น
ส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิต
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนดไว้ ช่วยท าให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผล
คาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ท าให้การจัดท าหลักสูตรใน
ระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุก
ระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ
และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันท างานอย่างเป็นระบบ และ
ต่อเนื่อง ในการวางแผน ด าเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชน
ของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้
ตามหลักการของหลักสูตรนั้น หลักสูตรที่สร้างขึ้นจ าเป็นต้องมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา และ
สนองความต้องการของสังคมที่ใช้หลักสูตรนั้นๆ โดยเหตุนี้หลักสูตรที่สร้างขึ้นมุ่งหมายในการใช้ในชุมชนแห่งใด
แห่งหนึ่ง โดยเฉพาะ ก็ย่อมสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคมได้มากที่สุด ท้องถิ่นและชุมชนมี
สภาพที่แตกต่างกัน การพัฒนาแต่ละท้องถิ่นก็ต้องมีความแตกต่างกัน เทคโนโลยีเจริญเร็ว จะท าหลักสูตร
ระดับชาติไปใช้กับท้องถิ่นก็ไม่ทันกับความเจริญของเทคโนโลยี สถานศึกษาจึงต้องจัดท าหลักสูตรสถานศึกษา
เอง
หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง
ตัวชี้วัด พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563) ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)