Page 3 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 3
3
ค ำน ำ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมค่านิยมพื้นฐานของระบบผู้น าแบบเอื้ออ านวย โดยอาศัยแนวคิดแบบผู้น า
ร่วม (Collective Leader)
ตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มีเป้าหมายให้คนไทยเป็นคนดีคนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมส าหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ พร้อมทั้งต้องการให้ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาระบบความก้าวหน้าของบุคลากร สร้างขวัญก าลังใจ และการเติบโตใน
สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติ สายงาน ผ่านการยึดโยงสู่คุณภาพผู้เรียน
และในทุกช่วงวัยสามารถได้รับการพัฒนาและยกระดับได้เต็มศักยภาพและเหมาะสม และตามแผนพัฒนาการ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ พัฒนาระบบสิ่งแวดล้อม
จัดการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ยุทธศาสตร์ที่ ๗ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาพลักษณ์องค์กร
เพื่อให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ ๘ พัฒนาระบบงานองค์กรสัมพันธ์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และให้ทันต่อการแปลงเปลี่ยนแปลงแนวทางในการจัดการ ทั้งนี้คณะผู้จัดท า ได้จัดเรียงหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการอ่านท าความเข้าใจ และสะดวกต่อการท าไป
เรียนรู้ในศตวรรษที่๒๑ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จึงได้มีการจัดท าแผนยุทธศาสตร์ ปฏิบัตินับตั้งแต่ศึกษาวิเคราะห์นโยบายระดับชาติ และแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อการ
การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๖) โดยมี แปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ ศึกษาวิเคราะห์การสภาพแวดล้อมและศักยภาพของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแผนระยะยาวส าหรับเป็นแนวทางส าหรับการพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) อันเป็นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์ ส าหรับองค์กร หรือโครงการ ซึ่งช่วย
มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) เพื่อให้การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) มีทิศทางที่ ผู้บริหารก าหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก
ชัดเจน เป็นรูปธรรม และง่ายส าหรับฝ่ายปฏิบัติการที่จะลงมือปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแผน ตลอดจนผลกระทบที่มีศักยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ต่อการท างานขององค์กร ตลอดจนการแปลงนโยบายพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๖) และ การศึกษาระดับชาติและมหาวิทยาลัยสู่แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เพื่อให้โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอก ใน (ฝ่ายมัธยม) ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๖)
ด้านการพัฒนาการศึกษาของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าวมุ่งเน้นด้าน คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประสิทธิภาพของผู้เรียนในรูปแบบสังคมแห่งการเรียนรู้ การพัฒนารูปแบบการวัดผลประเมินผลการศึกษาโดย (ฝ่ายมัธยม) ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๖) จักเป็นแนวทางการพัฒนาโรงเรียนที่ครอบคลุมทุกมิติ มีทิศทางที่ชัด
อาศัยข้อสอบมาตรฐานในการทดสอบผู้เรียน การพัฒนาต าราและเอกสารประกอบการสอน การบูรณาการ ส าหรับก าหนดทิศทางขององค์ให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ไม่หยุดยั้ง และได้รับความร่วมมือจาก
น าภาษาที่สามเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การพัฒนาทักษะการ บุคลากรที่เป็นหน่วยปฏิบัติการทุกภาคส่วนที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนด้วยศักยภาพที่เต็ม
เรียนรู้ตามความถนัดซึ่งสามารถน าวิชาชีพไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตและการปรับตัวที่เรียนรู้อยู่ใน เปี่ยม ให้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าวบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ
สังคมอย่างมีความสุข การสร้างขวัญก าลังใจและความก้าวหน้าต่อผู้ปฏิบัติงานทั้งสายวิชาการและสาย
สนับสนุน การสร้างงานมวลชนสัมพันธ์โดยเครือข่ายผู้ปกครอง และการพัฒนาพื้นที่โดยรอบโรงเรียนในการ
สร้างที่พื้นที่ให้สีเขียวที่ต่อสภาพแวดล้อมและปรับปรุงภูมิภูมิทัศน์ให้สะอาดและร่มรื่น การใช้พลังงานทดแทน คณะกรรมการบริหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
วางระบบโครงข่ายเทคโนโลยีสารเทศ พัฒนาการจัดห้องเรียนที่ทันสมัยโดยอาศัยสื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ที่พักอาศัยของนักเรียนให้สะอาด สะดวก น่าอยู่ เพิ่มพื้นที่นันทนาการและออกก าลังกาย และความ
ปลอดภัยในการจราจร โดยอาศัยความร่วมมือของจากเครือข่ายผู้ปกครองตามเป้าประสงค์ของแผน
ยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓
- ๒๕๖๖) ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ จ านวน ๘ ด้าน ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาระบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาระบบกิจกรรมพิเศษที่มุ่งพัฒนาศักยภาพนักเรียนทั้งในห้องเรียนและใน
สถานการณ์จริง ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการแข่งขันภายนอก