Page 102 - 64-รายงานผลการประเมินตนเอง(SAR)
P. 102

รายงานการประเมินตนเองปี 2564



                              ส่วนที่ 4 ความโดดเด่นของสถานศึกษาและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

                     1. ความโดดเด่นของสถานศึกษา

                                                                                         ิ
                     การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวชาชีพ  Professional
                     Learning Community (PLC)

                            โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ด าเนินการพฒนาคุณภาพการศึกษาโดยการ
                                                                                   ั
                     สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ  Professional Learning Community (PLC) มาเป็นแนวปฏิบัติที่
                     เป็นเลิศ (Best Practice) โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ไปที่ผู้เรียน เพอให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วย
                                                                    ื่
                     ตนเอง ผ่านการวางแผน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จนเกิดเป็นวัฒนธรรม

                     หรือชุมชนของการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียนเป็นการรวมตัวกันท างานไปพัฒนาทักษะและการเรียนรู้
                     เพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูเพื่อศิษย์ไป  โดยรวมตัวกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงท าให้การท าหน้าที่

                         ื่
                     ครูเพอศิษย์เป็นการท างานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม  โดยปัจจุบันการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
                     (PLC) มีคณาจารย์มากกว่าร้อยละ 50 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะการจัดการเรียนการสอนให้ห้องเรียน เพอ
                                                                                                           ื่
                     พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการน าเสนอการจัดกิจกรรม PLC เพอเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
                                                                           ื่
                     ในรูปแบบวีดีทัศน์ทางสื่อประชาสัมพันธ์ของทางโรงเรียน บุคลากรสามารถพัฒนากระบวนการจัดการเรียน

                     โดยวิธีการ PLC เพื่อสร้างสรรค์ผลงานและได้รับรางวัลจากผลงานดังกล่าว เช่น อาจารย์วันวิสา ประมวล

                     อาจารย์ช านาญการพิเศษ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับดี่เยี่ยม จากผลการคัดเลือกนวัตกรรมที่
                     เป็นเลิศ (Best Practices) ด้าน การนิเทศ ติดตามและประเมินผล โดยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง

                     วิชาชีพ (PLC) เพอพัฒนาการเรียนการสอน โครงการ Innovation For Education(IFTE) นวัตกรรม
                                   ื่
                     การศึกษาเพื่อพัฒนา การศึกษา ร้อยแก่นสารสินธุ์

                             ความส าคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยตรงของที่ยืนยันว่าการด าเนินการในรูปแบบ PLC

                     น าไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนจากการสังเคราะห์รายงาน
                     การวิจัยเกี่ยวกับโรงเรียนที่มีการจัดตั้ง PLC โดยใช้ค าถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์อะไรบ้าง ที่แตกต่าง

                     ไปจากโรงเรียนทั่วไปที่ไม่มีชุมชนแห่งวิชาชีพ และถ้าแตกต่างแล้วจะมีผลดีต่อครูผู้สอนและต่อนักเรียน

                     อย่างไรบ้างซึ่งมีผลสรุป 2 ประเด็นดังนี้

                             ประเด็นที่ 1 ผลดีต่อครูผู้สอนพบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวงาน

                     สอนของครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่

                     จะปฏิบัติให้บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อ

                     พัฒนาการโดยรวมของนักเรียนถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มีผลดี
                     ยิ่งขึ้น กล่าวคือมีการค้นพบความรู้ และความเชื่อที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและตัวผู้เรียนซึ่งที่เกิดจากการคอย




                                                                                                          97
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107