Page 216 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 216

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                                                          โครงสร้างรายวิชา
                          ชื่อหน่วย                                                               เวลา     น้ าหนัก
             หน่วยที่                     มาตรฐาน/ตัวชี้วัด       สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
                          การเรียนรู้                                                            (ชั่วโมง)   คะแนน
               1     บทน า               สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  สารชีวโมเลกุล คือ สารประกอบอินทรีย์ที่มีบทบาท  3   3
                     สารชีวโมเลกุล สาร ส าคัญ  (สาระชีววิทยา)   ส าคัญในสิ่งมีชีวิต สารชีวโมเลกุลแบ่งเป็น 4 กลุ่ม
                     ของชีวิต                              หลัก ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และกรด
                                                           นิวคลีอิก


               2     กรดนิวคลีอิก        สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  กรดนิวคลีอิกท าหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม   3   3
                     ข้อมูลทางพันธุกรรมแห่ง  (สาระชีววิทยา)   ของสิ่งมีชีวิต ท าหน้าที่เก็บข้อมูลและลักษณะ
                     ชีวิต                                 เฉพาะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ สารพันธุกรรมสามารถ
                                                           ถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกรุ่นหลาน กรดนิวคลีอิกแบ่งเป็น
                                                           2 กลุ่มหลัก ได้แก่ ดีเอ็นเอ (DNA) และอาร์เอ็นเอ
                                                           (RNA)
               3     การจ าลองดีเอ็นเอ         ว 1.3       ดีเอ็นเอหรือข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต   4   4
                                                           สามารถเพิ่มจ านวนหรือจ าลองตัวเองได้
                                                           กระบวนการนี้เรียกว่า “DNA replication” ซึ่งมี
                                                           ลักษณะเป็นแบบกึ่งอนุรักษ์ (semicoservative
                                                           replicaion) นั่นคือ ดีเอ็นเอเกลียวคู่ที่สังเคราะห์ขึ้น
                                                           ใหม่จะประกอบด้วยสายดีเอ็นแม่แบบซึ่งเป็นสาย
                                                           เดิมจับอยู่กับดีเอ็นเอสายใหม่ ถ้ามีความผิดพลาด
                                                           เกิดขึ้นในขั้นตอนการจ าลองดีเอ็นเอ อาจส่งผลให้
                                                           เกิดการกลายพันธุ์ (mutation) และน ามาซึ่งการ
                                                           เกิดโรคและความผิดปกติของลักษณะทางพันธุกรรม
                                                           ได้
               4     ยีนและกาแสดงออก ของ       ว 1.3       การแสดงออกของยีนหนึ่งๆจะถูกควบคุมด้วยปัจจัย  5.5   5.5
                     ยี น :  จ า ก ร หั ส                  ที่แตกต่างกัน เมื่อยีนหนึ่งๆมีการแสดงออก (gene
                     ดี เอ็ น เอ น  า สู่ ก า ร            expression) จะท าให้เกิดการสังเคราะห์โปรตีน
                     สังเคราะห์โปรตีน                      ชนิดต่างๆที่ท าหน้าที่ส าคัญภายในเซลล์ และส่งผล
                                                           ให้เกิดลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ กระบวนการ
                                                           แสดงออกของยีนจะเกิดขึ้นผ่าน 2 ขั้นตอนหลัก
                                                           ได้แก่ การถอดรหัสพันธุกรรม (transcription) และ
                                                           การแปลรหัสพันธุกรรม (translation)
               5     เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ  ว 1.3      ปัจจุบันความรู้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอมีความ  5.5   5.5
                     กรดนิวคลีอิกและการ                    เจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ความรู้นี้ถูกน ามา
                     ประยุกต์ใช้                           ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้แก่
                                                           ด้านการแพทย์ เช่น การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปรง
                                                           พันธุกรรมเพื่อผลิตยาและวัคซีน ด้านการเกษตร
                                                           เช่น พืชและสัตว์ดัดแปรงพันธุกรรมที่มีลักษณะ
                                                           ตามที่ต้องการ (GMOs) และด้านนิติวิทยาศาสตร์
                                                           เช่น การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อหความสัมพันธ์
                                                           ทางสายเลือด หรือเพื่อหาผู้กระท าผิดในคดีต่างๆ
               6     ลิพิด               สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม  โครงสร้างของลิพิดประกอบด้วยธาตุคาร์บอน   5   6
                     สม บั ติ ของลิพิ ด แล ะ  (สาระชีววิทยา   ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบหลัก
                     ความส าคัญของลิพิดใน                  ลิพิตมีบทบาทที่ส าคัญต่อชีวิตในด้านต่างๆ ได้แก่ มี
                     สิ่งมีชีวิต                           บทบาทเป็นแหล่งพลังส ารองของร่างกายในรูปของ



                                                                                                           215
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221