Page 235 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 235
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ล าดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนัก
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) คะแนน
ก ดาราศาสตร์ ที่เรียกว่า เนบิวลาสุริยะ โดยฝุ่นและแก๊สประมาณร้อย
และอวกาศ ละ 99.8ของมวล ได้รวมตัวเป็นดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นก้อน
แก๊สร้อน หรือพลาสมาสสารส่วนที่เหลือรวมตัวเป็นดาว
ผลการเรียนรู้ เคราะห์และบริวารอื่น ๆ ของดวงอาทิตย์ ดังนั้นจึงแบ่ง
ม.6/10 เขตบริวารของดวงอาทิตย์ตามลักษณะการเกิด
ม.6/11 และองค์ประกอบ ได้แก่ ดาวเคราะห์ชั้นใน
ม.6/12 ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ชั้นนอก และดงดาวหาง
• โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิตเพราะ
โคจรรอบดวงอาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสม จึงเป็นเขต
ที่เอื้อต่อการมีสิ่งมีชีวิต ท าให้โลกมีอุณหภูมิเหมาะสม
และสามารถเกิดน้ าที่ยังคง
สถานะเป็นของเหลวได้ และปัจจุบันมีการค้นพบดาว
เคราะห์ที่อยู่นอกระบบสุริยะจ านวนมากโดยมีดาว
เคราะห์บางดวงที่มีลักษณะคล้ายโลกและอยู่ในเขตที่เอื้อ
ต่อการมีสิ่งมีชีวิต
• บริวารของดวงอาทิตย์อยู่รวมกันเป็นระบบภายใต้แรง
โน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ตามกฎแรง
โน้มถ่วงของนิวตัน ส่วนการโคจรของดาวเคราะห์รอบ
ดวงอาทิตย์เป็นไปตามกฎเคพเลอร์
• ดวงอาทิตย์มีโครงสร้างภายในแบ่งเป็น
แก่น เขตการแผ่รังสี และเขตการพาความร้อนและมีชั้น
บรรยากาศอยู่เหนือเขตพาความร้อน ซึ่งแบ่งเป็น 3 ชั้น
คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชั้นโครโมสเฟียร์ และคอโรนา ในชั้น
บรรยากาศ ของดวงอาทิตย์ มีปรากฏการณ์ส าคัญ เช่น
จุดมืด
ดวงอาทิตย์ การลุกจ้า ที่ท าให้เกิดลมสุริยะ และพายุ
สุริยะ ซึ่งส่งผลต่อโลก
• ลมสุริยะ เกิดจากการแพร่กระจายของอนุภาคจากชั้น
คอโรนาออกสู่อวกาศตลอดเวลา อนุภาคที่หลุดออกสู่
อวกาศเป็นอนุภาคที่มีประจุลมสุริยะส่งผลท าให้เกิดหาง
ของดาวหางที่เรืองแสงและชี้ไปทางทิศตรงกันข้ามกับ
ดวงอาทิตย์และเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ แสงใต้
• พายุสุริยะ เกิดจากการปลดปล่อยอนุภาคมีประจุ
พลังงานสูงจ านวนมหาศาล มักเกิดบ่อยครั้งในช่วงที่มี
234
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)