Page 237 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 237

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                ล าดับ ชื่อหน่วยการ   มาตรฐานการ                   สาระส าคัญ                  เวลา     น้ าหนัก
                 ที่      เรียนรู้   เรียนรู้/ตัวชี้วัด                                       (ชั่วโมง )  คะแนน


                                                   • เวลาสุริยคติปานกลางก าหนดโดยให้มีดวงอาทิตย์
                                                   สมมติเคลื่อนที่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าด้วยอัตราเร็ว

                                                   สม่ าเสมอ ช่วงเวลาระหว่างการเห็นจุดศูนย์กลางของดวง
                                                   อาทิตย์ผ่านเมริเดียนครั้งแรกถึงครั้งถัดไป
                                                   เรียกว่า 1 วัน สุริยคติปานกลาง ซึ่งยาว 24 ชั่วโมง 0

                                                   นาที 0 วินาที เวลาสุริยคติปานกลางกรีนิซเป็นเวลาสุริ
                                                   ยคติปานกลางที่ใช้เมริเดียนของหอดูดาวกรีนิซใน
                                                   ประเทศอังกฤษเป็นตัวก าหนดซึ่งน ามาใช้ในการก าหนด
                                                   เขตเวลามาตรฐานสากลของต าแหน่งอื่น ๆ บนโลก
                                                   • โลกและดาวเคราะห์ทุกดวงหมุนรอบตัวเองและโคจร

                                                   รอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก
                                                   หรือในทิศทวนเข็มนาฬิกาจากมุมมองด้านบน คนบน
                                                   โลกจะสังเกตเห็นดาวเคราะห์มีต าแหน่งปรากฏแตกต่าง

                                                   กันในช่วงวันเวลาต่าง ๆ
                                                   เพราะดาวเคราะห์มีมุมห่างที่แตกต่างกัน
                                                   • มุมห่างของดาวเคราะห์ คือ มุมระหว่างเส้นตรงที่เชื่อม
                                                   ระหว่างโลกกับดาวเคราะห์กับเส้นตรงที่เชื่อมระหว่าง

                                                   โลกกับดวงอาทิตย์ เมื่อวัดบนเส้นสุริยวิถี โดยดาว
                                                   เคราะห์อาจอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไปทางทิศตะวันออก
                                                   หรือทางทิศตะวันตก ซึ่งมีการเรียกชื่อตามต าแหน่งของ

                                                   ดาวเคราะห์ในวงโคจร ขนาดของมุมห่างและทิศทางของ
                                                   มุมห่าง
                                                   • ดาวเคราะห์ที่มีมุมห่างต่างกันจะมีต าแหน่งปรากฏบน
                                                   ท้องฟ้าแตกต่างกัน โดยต าแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์

                                                   วงในจะอยู่ใกล้ขอบฟ้าในช่วงเวลาใกล้รุ่งหรือเวลาหัวค่ า
                                                   ส่วนต าแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์วงนอกจะสามารถ
                                                   เห็นได้ใน ช่วงเวลาอื่น ๆ นอกจากนี้ มุมห่างยังสามารถ

                                                   น ามาอธิบายปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ เช่น ดาว
                                                   เคียงเดือน ดาวเคราะห์ชุมนุม ดาวเคราะห์ผ่านหน้าดวง
                                                   อาทิตย์


                  5    เทคโนโลยีอว  สาระการเรียนรู้โล • มนุษย์ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา เพื่อ   3      10
                       กาศ         ก ดาราศาสตร์    ขยายขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และ
                                   และอวกาศ        ในขณะเดียวกันมนุษย์ได้น าเทคโนโลยีอวกาศ
                                                   มาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น วัสดุศาสตร์





                                                                                                           236
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242