Page 232 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 232
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา ว30264 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
วิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เวลา 1 ชั่วโมง /สัปดาห์ จ านวน 0.5 หน่วยกิต
เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ
ระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์ จากการศึกษาต าแหน่งดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสัมพันธ์
ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการด ารงชีวิต
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง ส ารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล การ
อภิปราย และอธิบาย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่น
เข้าใจ หรือน าสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาระดับสูงขึ้น หรือตัดสินใจแก้ปัญหาได้
เห็นคุณค่าและความส าคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน
มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรู้
สาระวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ม.6/1-19
รวม 19 ข้อ
โครงสร้างรายวิชา
ล าดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนัก
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) คะแนน
1 เอกภพ สาระการเรียนรู้โล • ทฤษฎีก าเนิดเอกภพที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ 4 20
ก ดาราศาสตร์ ทฤษฎีบิกแบง
และอวกาศ ระบุว่าเอกภพเริ่มต้นจากบิกแบงที่เอกภพมีขนาดเล็กมา
ก และมีอุณหภูมิสูงมาก
ผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเวลาและวิวัฒนาการของเอกภพ
ม.6/1 โดยหลังเกิดบิกแบง
ม.6/2 เอกภพเกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีอุณหภูมิลดลง
ม.6/3 มีสสารคงอยู่ในรูปอนุภาคและปฏิยานุภาคหลายชนิด
และมีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเนบิวลา
กาแล็กซี ดาวฤกษ์
และระบบสุริยะเป็นสมาชิกบางส่วนของเอกภพ
• หลักฐานส าคัญที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง
คือการขยายตัวของเอกภพ ซึ่งอธิบายด้วยกฎฮับเบิล
โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วแนวรัศมีและระยะ
ทางของกาแล็กซีที่เคลื่อนที่ห่างออกจากโลกและหลักฐา
นอีกประการ คือ
การค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังที่กระจายตัวอย่างสม่ าเสมอ
ทุกทิศทาง และสอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศ
231
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)