Page 265 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 265

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



               รหัสวิชา ว32215                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
               วิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 2              เวลา 4 ชั่วโมง /สัปดาห์     จ านวน 2.0 หน่วยกิต

                       ศึกษา วิเคราะห์ การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก คลื่นกล คลื่นแสง ทัศนอุปกรณ์ เสียง และสี โดย
               ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ

               อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
               น าความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจ น าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ

               ค่านิยมที่เหมาะสม

               ผลการเรียนรู้
                       ว 6.2 (ม.5/1-13)

               รวม 13 ผลการเรียนรู้

                                                     โครงสร้างรายวิชา
                        ชื่อหน่วย     มาตรฐาน/                                               เวลา       น้ าหนัก
             หน่วยที่                                     สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
                        การเรียนรู้     ตัวชี้วัด                                           (ชั่วโมง)   คะแนน

                1       การเคลื่อนที่  - มาตรฐาน ว ๒.๒   การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก เป็นการ  12      15
                       แบบซิมเปิลฮาร์  ตัวชี้วัดที่ ๕   เคลื่อนที่ของวัตถุที่กลับไปกลับมาซ้ ารอยเดิมผ่าน
                          โมนิก     - สาระเพิ่มเติม   ต าแหน่งสมดุล โดยมีคาบและแอมพลิจูดคงตัวและ

                                    ฟิสิกส์ ข้อ ๒ ผล  มีการกระจัดจากต าแหน่งสมดุลที่เวลาใด ๆ เป็น
                                    การเรียนรู้ข้อที่ ๑  ฟังก์ชันแบบไซน์ ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบซิม

                                                    เปิลฮาร์มอนิก ได้แก่ การสั่นของวัตถุติดปลายสปริง
                                                    และการแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย
                2         ความถี่   - มาตรฐาน ว ๒.๓ เมื่อดึงวัตถุที่ติดปลายสปริงออกจากต าแหน่งสมดุล  4     5
                       ธรรมชาติและ  ตัวชี้วัดที่ ๔   แล้วปล่อยให้สั่น วัตถุจะสั่นด้วยความถี่เฉพาะตัว
                        การสั่นพ้อง   - สาระเพิ่มเติม   การดึงลูกตุ้มออกจากแนวดิ่งแล้วปล่อยให้แกว่ง

                                    ฟิสิกส์ ข้อ ๒ ผล  ลูกตุ้มจะแกว่งด้วยความถี่เฉพาะตัวเช่นกัน ความถี่
                                                    ที่มีค่าเฉพาะตัวนี้ เรียกว่า ความถี่ธรรมชาติ เมื่อ
                                    การเรียนรู้ข้อที่ ๒   กระตุ้นให้วัตถุสั่นด้วยความถี่ที่มีค่าเท่ากับความถี่

                                                    ธรรมชาติของวัตถุ จะท าให้วัตถุสั่นด้วยแอมพลิจูด
                                                    เพิ่มขึ้น เรียกว่า การสั่นพ้อง
                3       คลื่นกล และ  - มาตรฐาน ว ๒.๓ คลื่นเป็นปรากฏการณ์การถ่ายโอนพลังงานจากที่  12        15
                       ธรรมชาติของ  ตัวชี้วัดที่ ๓   หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง คลื่นที่ถ่ายโอนพลังงานโดยต้อง
                          คลื่น     - สาระเพิ่มเติม   อาศัยตัวกลางเรียกว่า คลื่นกล ส่วนคลื่น

                                    ฟิสิกส์ ข้อ ๒ ผล  แม่เหล็กไฟฟ้าถ่ายโอนพลังงานโดยไม่ต้องอาศัย
                                                    ตัวกลาง นอกจากนี้ยังจ าแนกชนิดของคลื่นกล
                                    การเรียนรู้ข้อที่ ๓   ออกเป็นสองชนิด ได้แก่ คลื่นตามขวาง และคลื่น

                                    และ ๔           ตามยาว คลื่นที่เกิดจากแหล่งก าเนิดคลื่นที่ส่งคลื่น
                                                    อย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบที่ซ้ ากันบรรยายได้ด้วย
                                                    ปรากฏการณ์คลื่น ได้แก่  การสะท้อน การหักเห
                                                    การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน ชนิดของคลื่น




                                                                                                           264
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   260   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270