Page 267 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 267

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



               ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียสเบรินสเตด–ลาวรี และลิวอิส ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส
               ของเบรินสเตด-ลาวรี ค านวณและเปรียบเทียบความสามารถ ในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส

               ค านวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียม ไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและเบส
               เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน เขียน

               ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบุความ เป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ ทดลอง และอธิบายหลักการ
               การไทเทรตและ เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมส าหรับการไทเทรตกรด-เบส ค านวณปริมาณสารหรือความ

               เข้มข้น ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต อธิบายสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของ

               สารละลายบัฟเฟอร์ สืบค้นข้อมูล และน าเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้
               เกี่ยวกับกรด–เบส

               โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบการสืบ ค้นข้อมูลและ การ

               อภิปราย  เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
                       เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม

               และค่านิยมที่เหมาะสม
               ผลการเรียนรู้

                       สาระเคมีข้อ 2  ม.5/7-23
               รวม 17 ผลการเรียนรู้

                                                       โครงสร้างรายวิชา

                ล า    ชื่อหน่วย   มาตรฐานการเรียนรู้              สาระส าคัญ                  เวลา   น้ าหนัก
                ดับที่  การเรียนรู้   /ตัวชี้วัด                                             (ชั่วโมง)  คะแนน


                 1    ปฏิกิริยาผันก ว 2.1 ม.5/13   1.นักเรียนสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ผัน   16      20
                      ลับได้และภา สาระเคมี ข้อ 2    กลับได้และภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยน
                      วะสมดุล      ม.5/7 - 11      แปลงของสารได้
                                                   2. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของค่า คงที่สมดุล
                                                   (K) กับสมการเคมีได้
                                                   3. นักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่าง
                                                   ค่าคงที่สมดุลกับความเข้มข้นของสารต่างๆใน ระบบได้

                 2    ปัจจัยที่มีผล  ว 2.1 ม.5/13   1. นักเรียนสามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบ ที่อยู่ใน  16   20
                      ต่อภาวะ    สาระเคมี ข้อ 2    ภาวะสมดุลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความ เข้มข้น    ความ
                      สมดุลและ       ม.5/12 - 13      ดัน  อุณหภูมิ หรือการเติมตัวเร่ง และก๊าซเฉื่อยได้
                      สมดุล                        2. นักเรียนสามารถอธิบายการปรับตัวของระบบ เมื่อเข้า
                      เคมีในสิ่งมี                 สู่ภาวะสมดุลโดยใช้หลักของเลอชาเตอลิ เยร์และน า
                      ชีวิต                        หลักการนี้ไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมได้
                                                   3. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างและอธิบายสมดุล เคมีที่
                                                   เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้








                                                                                                           266
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272