Page 266 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 266
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ เวลา น้ าหนัก
หน่วยที่ สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้ ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
ส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่น
หลักการของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่น
ตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งค านวณอัตราเร็ว
ความถี่ และความยาวคลื่น
4 คลื่นเสียง - มาตรฐาน ว ๒.๓ การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่าง 26 30
ตัวชี้วัดที่ ๓, ๔, ๕, อัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิใน
๖ และ ๗ หน่วยองศาเซลเซียส องค์ประกอบของการได้ยิน
- สาระเพิ่มเติม คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง สมบัติของคลื่น
เสียง ความเข้มเสียง ระดับเสียง การสั่นพ้องของ
ฟิสิกส์ ข้อ ๒ ผล อากาศในท่อปลายเปิด บีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์
การเรียนรู้ข้อที่ ๕, ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง
๖ และ ๗
5 คลื่นแสง - มาตรฐาน ว ๒.๓ การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง การ 28 35
ตัวชี้วัดที่ ๓, ๔, ๕, เลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดี่ยว
๙ และ ๑๐ การสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน
- สาระเพิ่มเติม เขียนรังสีของแสงและค านวณต าแหน่งและขนาด
ภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและ
ฟิสิกส์ ข้อ ๒ ผล กระจกเงาทรงกลม ความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหัก
การเรียนรู้ข้อที่ ๘, เห มุมตกกระทบ และมุมหักเหรวมทั้งอธิบาย
๙, ๑๐, ๑๑, ๑๒ ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึก
และ ๑๓ ปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง
รังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หา
ต าแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และความสัมพันธ์
ระหว่างระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัส
ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสง การมองเห็น
แสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี
รวม 80 100
รหัสวิชา ว32231 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิชา เคมี 2 เวลา 4 ชั่วโมง /สัปดาห์ จ านวน 2.0 หน่วยกิต
ทดสอบและอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล อธิบายการเปลี่ยนแปลงความ
เข้มข้นของสาร อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยา
จนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดุล ค านวณค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา ค านวณความเข้มข้น ของสารที่ภาวะ
สมดุล ค านวณค่าคงที่สมดุลหรือความเข้มข้นของปฏิกิริยาหลายขั้นตอน ระบุปัจจัยที่มีผล ต่อภาวะสมดุลและ
ค่าคงที่สมดุลของระบบ รวมทั้งคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อภาวะสมดุล ของระบบถูกรบกวน โดย
ใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ ยกตัวอย่าง และอธิบายสมดุลเคมี ของกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต
ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม ระบุ และอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้
265
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)