Page 303 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 303

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                         ชื่อหน่วย                                                            เวลา    น้ าหนัก
              หน่วยที่               มาตรฐาน/ตัวชี้วัด      สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
                         การเรียนรู้                                                         (ชั่วโมง)   คะแนน
                                                    การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรซึ่งเป็น
                                                    กระบวนการที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ

               14     รูปแบบการเพิ่ม  1. สืบค้นข้อมูล   • การเพิ่มประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลเป็นการเพิ่ม  4   8%
                      ของประชากร    อธิบาย เปรียบเทียบ   จ านวนประชากรอย่างรวดเร็วแบบทวีคูณ
                                      และยกตัวอย่าง   • การเพิ่มประชากรแบบลอจิสติกเป็นการเพิ่มจ านวน

                                       การเพิ่มของ  ประชากรที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมหรือมีตัวต้านทาน
                                                    ในสิ่งแวดล้อมมาเกี่ยวข้อง
                                     ประชากรแบบเอ็ก  • การเติบโตของประชากรขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ
                                       โพเนนเชียล   ซึ่งแบ่งได้เป็น ปัจจัยที่ขึ้นกับความหนาแน่น
                                     และการเพิ่มของ  ของประชากร และปัจจัยที่ไม่ขึ้นกับความหนาแน่นของ
                                     ประชากรแบบลอจิ  ประชากร
                                         สติก       • ประชากรมนุษย์มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
                                      2. อธิบาย และ  แบบเอ็กโพเนนเชียลหลังจากการปฏิวัติทาง
                                     ยกตัวอย่างปัจจัยที่  อุตสาหกรรมเป็นต้นมา
                                     ควบคุมการเติบโต
                                    ของประชากร

               15       ทรัพยากรน้ า   วิเคราะห์ อภิปราย  • ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรน้ า ส่วนใหญ่เกิดจากการ  4   5%
                       รูปแบบการใช้   และสรุปปัญหา   ปล่อยน้ าที่ผ่านการใช้ประโยชน์จากกิจกรรมต่าง ๆ ของ
                         ทรัพยากร    การขาดแคลนน้ า   มนุษย์และยังไม่ได้รับการบ าบัดลงสู่แหล่งน้ า ท าให้เกิด
                         ผลกระทบ     การเกิดมลพิษทาง  มลพิษทางน้ า
                                                    • การตรวจสอบคุณภาพน้ านิยมใช้การหาค่า
                        ปัญหามลพิษ      น้ า และ    ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ า และค่าปริมาณออกซิเจน
                       และแนวทางการ  ผลกระทบที่มีต่อ  ที่จุลินทรีย์ในน้ าใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ า
                          จัดการ       มนุษย์และ    • การจัดการทรัพยากรน้ า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
                                     สิ่งแวดล้อม รวมทั้ง  ควรมีการวางแผนการใช้น้ า การแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ า

                                     เสนอแนวทางการ  รวมทั้งการปลูกจิตส านึกในการใช้น้ าอย่างถูกต้อง
                                     วางแผนการจัดการ
                                          น้ า
                                    และการแก้ไขปัญหา
               16       ทรัพยากรดิน   วิเคราะห์ อภิปราย  • มลพิษทางดินและปัญหาความเสื่อมโทรมของดินส่วน  4   5%
                       รูปแบบการใช้  และสรุปปัญหาที่  ใหญ่มีสาเหตุจากการกระท าของมนุษย์
                         ทรัพยากร        เกิดกับ    • การจัดการทรัพยากรดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
                         ผลกระทบ     ทรัพยากรดิน และ  ควรมีการป้องกันและการแก้ปัญหาการเกิดมลพิษและ
                                                    ความเสื่อมโทรมของดิน รวมทั้งการปลูกจิตส านึกใน
                        ปัญหามลพิษ   ผลกระทบที่มีต่อ  การใช้ดินอย่างถูกต้อง
                       และแนวทางการ    มนุษย์และ
                          จัดการ     สิ่งแวดล้อม รวมทั้ง
                                     เสนอแนวทางการ
                                         แก้ไข
                                         ปัญหา






                                                                                                           302
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308