Page 308 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 308
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
รหัสวิชา ว33263 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และโลกและอวกาศ เวลา 2 ชั่วโมง /สัปดาห์ จ านวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด โครงสร้างโลก การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา ธรณีประวัติ ความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก และศึกษาวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ ศึกษา ค้นคว้า ส ารวจ ทดลอง อภิปราย แสดงและเสนอความคิดในรูปแบบหลากหลาย วิเคราะห์
สาเหตุและผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนาที่ยั่งยืนวิเคราะห์สภาพสิ่งแวดล้อม
ของโลกที่เชื่อมโยงกับประชากรมนุษย์ เข้าใจสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค
ระดับประเทศจนถึงระดับโลก เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งระบบ สามารถ
เสนอแนวทางเพื่อแก้ปัญหาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความ ความ
ตระหนัก มีจิตส านึกที่ท ากิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ว 3.1 ม.6/1-ม.6/10, ว 3.2 ม.6/1-ม.6/14 มาตรฐาน ว 1.1 ม.6
รวม 25 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา
ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนัก
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) คะแนน
1 โครงสร้างโลก ว 3.2 ม.6/1 การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน 3 7
เช่นองค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่องค์ประกอบทา
งเคมีของอุกกาบาต
ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก
จึงสามารถแบ่งชั้นโครงสร้างโลกได้๒ แบบ
คือโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมีแบ่งได้เป็น ๓
ชั้น ได้แก่ เปลือกโลกเนื้อโลก และแก่นโลก
และโครงสร้างโลกตาม
สมบัติเชิงกล แบ่งได้เป็น ๕ ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค
ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชั้นนอก
และแก่นโลกชั้นใน
2 การแปรสัณฐานของแผ่ ว 3.2 ม.6/3 แผ่นธรณีต่าง ๆ 3 7
นธรณี เป็นส่วนประกอบของธรณีภาคการเปลี่ยนแปลงขนาดแ
ละต าแหน่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีดังกล่าวอธิบายได้ตามทฤษฎีธ
รณีแปรสัณฐาน
ซึ่งมีรากฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผ่ข
ยายพื้นสมุทร
โดยมีหลักฐานที่สนับสนุนได้แก่รูปร่างของขอบทวีปที่สา
มารถเชื่อมต่อกันได้ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแ
307
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)