Page 310 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 310

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                ล าดับที่   ชื่อหน่วยการเรียนรู้   มาตรฐานการเรียนรู้/    สาระส าคัญ                เวลา    น้ าหนัก
                                               ตัวชี้วัด                                           (ชั่วโมง )  คะแนน

                                          ว3.1 ม.6/6       ดวงขึ้นไปดาวฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่
                                          ว3.1 ม.6/7       เกิดจากการยุบตัวของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใต้แรงโน้
                                                           มถ่วง
                                                           ท าให้บางส่วนของเนบิวลามีขนาดเล็กลงความดันและอุ
                                                           ณหภูมิเพิ่มขึ้น เกิดเป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิด
                                                           เมื่ออุณหภูมิที่แก่นสูงขึ้นจนเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลี
                                                           ยร์ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจะกลายเป็นดาวฤกษ์ดาวฤกษ์อยู่ใน
                                                           สภาพสมดุลระหว่างแรงดันกับแรงโน้มถ่วงซึ่งเรียกว่า
                                                           สมดุลอุทกสถิตจึงท าให้ดาวฤกษ์มีเสถียรภาพและปลดป
                                                           ล่อยพลังงานเป็นเวลานาน ตลอดช่วงชีวิตของดาวฤกษ์

                  7    ระบบสุริยะ         ว3.1 ม.6/8       ระบบสุริยะเกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มฝุ่นและแก๊สที่  2   5
                                          ว3.1 ม.6/9       เรียกว่า เนบิวลาสุริยะ
                                                           โดยฝุ่นและแก๊สประมาณร้อยละ๙๙.๘ ของมวล
                                                           ได้รวมตัวเป็นดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นก้อนแก๊สร้อน หรือ
                                                           พลาสมาสสารส่วนที่เหลือรวมตัวเป็นดาวเคราะห์และบริ
                                                           วารอื่น ๆ
                                                           ของดวงอาทิตย์ดังนั้นจึงแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ต
                                                           ามลักษณะการเกิดและองค์ประกอบ
                                                           ได้แก่ดาวเคราะห์ชั้นในดาวเคราะห์น้อยดาวเคราะห์ชั้น
                                                           นอกและดงดาวหาง

                  8    เทคโนโลยีอวกาศ     ว3.1 ม.6/10      มนุษย์ใช้เทคโนโลยีอวกาศในการศึกษา         2        6
                                                           เพื่อขยายขอบเขตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และในขณะเ
                                                           ดียวกันมนุษย์ได้น าเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในด้
                                                           านต่าง ๆ เช่น วัสดุศาสตร์อาหารการแพทย์

                  9    พื้นฐานสิ่งแวดล้อม   สาระที่        การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม วิวัฒนาการของสิ่งแวดล้อม   6   20
                                          1วิทยาศาสตร์ชีวภาพ  และสิ่งแวดล้อมศึกษา เกิดขึ้นมาช้านานในโลกนี้
                                          มาตรฐาน ว 1.1    ซึ่งเกิดจากการประชุมในระดับเวทีโลก
                                          ม.6              ในที่ประชุมสหประชาชาติ ที่กรุงสต๊อกโฮม
                                          สาระชีววิทยาเพิ่มเติม  ประเทศสวีเดน เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2515
                                          ข้อ 5            มีการถกถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม
                                                           โดยมีองค์กรที่รับผิดชอบหลักคือ UNESCO (United
                                                           Nations Educational, Scientific and Cultural
                                                           Organization )
                                                           การประชุมบรรลุข้อตกลงและได้มีการจัดตั้ง UNEP
                                                           (united nations environment programme)
                                                           ซึ่งน าไปสู่การจัดตั้งองค์กรสิ่งแวดล้อมศึกษาขึ้นโดยเฉพา
                                                           ะ คือ IEEP  (Institute for European
                                                           Environmental Policy )
                                                           ต่อมาได้มีการประชุมด้านสิ่งแวดล้อมในเวทีระดับโลกอี
                                                           กหลายครั้ง ในหลายประเด็น
                                                           ท าให้นานาประเทศเริ่มตื่นตัวและให้ความส าคัญเกี่ยวกั





                                                                                                           309
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315