Page 28 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 28

23

 ๒๒                                                                                                    ๒๓



 ๑๐. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรระยะสั้นรองรับผู้เรียนทุกช่วงวัย (S๑, O๔)   ๘. แสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก (W๖,T๓) (W๘, T๓)
 ๑๑. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งโรงเรียนผลิตแพทย์เต็มรูปแบบ (S๑,O๑)    ๙. ส่งเสริมให้มีการผลิตผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติ

 ตัวชี้วัด     (S๓,O๓ O๔)

 ๑. ร้อยละของหลักสูตรที่มีคะแนนผลการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับดี ๓.๐๑ ขึ้น  ๑๐. สนับสนุนให้ผลิตนวัตกรรมเพื่อสร้างรายได้ให้มหาวิทยาลัย (S๕, O๓ O๔)
 ไป            ตัวชี้วัด

 ๒. ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานท าหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี    ๑. จ านวนศูนย์ความเป็นเลิศทางการวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์เฉพาะด้าน
 ๓. สัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์เพิ่มสูงขึ้น   ๒. จ านวนโครงการวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์เชิงบูรณาการสหวิชา

 ๔. ระดับความส าเร็จของการพัฒนานวัตกรรมด้านการจัดการเรียนสอนที่บูรณาการจากหลายศาสตร์   ๓. ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น

 ๕. ระดับความส าเร็จของการจัดท าหลักสูตรระยะสั้น   ๔. จ านวนงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้/นวัตกรรมที่น าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น
 ๖. ระดับความส าเร็จของการจัดการเรียนสอนหลากหลายรูปแบบ   ๕. ระดับความส าเร็จของการด าเนินงานศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการเกษตร

 ๗. ระดับความส าเร็จของการพัฒนาศักยภาพนิสิตสู่ความเป็นเลิศ   ๖. จ านวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
 ๘. ระดับความส าเร็จของการด าเนินงานโรงเรียนผลิตแพทย์เต็มรูปแบบ



 ยุทธศำสตร์ที่ ๒ พัฒนำกำรวิจัยและสร้ำงสรรค์เพื่อสร้ำงองค์ควำมรู้และนวัตกรรมที่สร้ำงคุณค่ำทำง  ยุทธศำสตร์ที่ ๓ เป็นศูนย์กลำงแห่งกำรเรียนรู้และบริกำรวิชำกำรแก่สังคมเป้ำประสงค์
 วิชำกำรและมูลค่ำเพิ่มให้กับชุมชนและสังคม   ๑. มหาวิทยาลัยมีการท างานเชิงวิชาการร่วมกัน (Engagement) ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนและ

 เป้ำประสงค์   สังคม
 ๑. มีศูนย์ความเป็นเลิศทางการวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์เฉพาะด้าน   ๒. มีสถาบันการพัฒนาและการดูแลผู้สูงวัยแบบครบวงจร

 ๒. มีผลงานวิชาการ หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล   ๓. มีสถาบันการเรียนรู้ตามช่วงวัย

 ๓. มีผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถน าไปแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม   กลยุทธ์
 ๔. มีงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์เชิงบูรณาการสหวิชา   ๑. สนับสนุนให้คณะ/หน่วยงานด าเนินงานโครงการบริการวิชาการ (S๗, O๕)

 ๕. มีผลงานนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาสังคม ชุมชน และประเทศ   ๒. ส่งเสริมศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบบูรณาการศาสตร์(S๕,O๔)
 ๖. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากนวัตกรรม และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนหรือสังคมได้   ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีสถาบันการพัฒนาและการดูแลผู้สูงวัยแบบครบวงจร (S๕,O๓)

 กลยุทธ์              ๔. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและพัฒนาคุณภาพชิวิตอย่าง

 ๑. ส่งเสริมให้มีศูนย์ความเป็นเลิศทางการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือสิ่งประดิษฐ์ เฉพาะด้าน (S๓,O๔)   เหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย (S๕,O๓)
 ๒. พัฒนาระบบกลไกในการสนับสนุนให้มีศูนย์ความเป็นเลิศทางการวิจัย งานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์  ตัวชี้วัด

 เฉพาะด้าน (W๕, O๔)   ๑. ระดับความส าเร็จของโครงการบริการวิชาการที่ให้บริการหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน หรือ
 ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์และบุคลากรมีผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพ (S๔,O๔)   สถานประกอบการ

 ๔. มีระบบกลไกในการสนับสนุนให้อาจารย์และบุคลากรผลิตผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (S๔,O๔)   ๒. ระดับความส าเร็จของการด าเนินงานของศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบบูรณาการศาสตร์

 ๕. ส่งเสริมให้มีการผลิตและน าผลงานวิจัยไปพัฒนาและ/หรือแก้ปัญหาของหน่วยงานภาครัฐหรือ  ๓. ระดับความส าเร็จของการด าเนินงานศูนย์บริการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
 เอกชนหรือชุมชนหรือสังคม (S๓, O๓ O๔)   ๔. ระดับความส าเร็จของการมีสถาบันการพัฒนาการเรียนรู้ตามช่วงวัยและการดูแลผู้สูงวัยแบบครบ

 ๖. ส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายในการน าผลงานวิจัยไปพัฒนาและ/หรือแก้ปัญหาหน่วยงานภาครัฐ  วงจร
 หรือเอกชนหรือชุมชนหรือสังคม (S๓,O๖)

 ๗. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการท างานวิจัยเชิงบูรณาการสหวิชา (S๖,O๘)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33