Page 30 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 30

25

 ๒๔                                                                                                    ๒๕



 ยุทธศำสตร์ที่ ๔ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และภูมิปัญญำ  กลยุทธ์
 ท้องถิ่นในฐำนะทุนทำงวัฒนธรรมที่สำมำรถน ำไปใช้ประโยชน์ต่อสังคม   ๑. พัฒนาระบบการบริหารจัดการตามแผนให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และจุดเน้นของมหาวิทยาลัย

 เป้ำประสงค์   และนโยบายของชาติ(W๑๔, T๓)

 ๑. มหาวิทยาลัยอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสาน  ๒. ส่งเสริมการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล (S๑๐, O๙)
 วัฒนธรรมในระดับชาติและสากลบนฐานการบูรณาการจากการเรียนการสอนและการวิจัย   ๓. พัฒนาและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศให้มีความเชื่อมโยงทุกระบบ ถูกต้อง มีเสถียรภาพ

 ๒. มหาวิทยาลัยมีการบูรณาการกิจกรรมท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ระหว่าง  ในการท างานมีความทันสมัยอ้างอิงได้(W๑๓, T๔)
 คณะ และหน่วยงานภายในและชุมชนที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้   ๔. สร้างระบบและกลไกการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (S๙ ,O๑๑)

 ๓. มีการพัฒนาผลงานด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมสู่สากล   ๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ (S๙,O๙)

 กลยุทธ์              ๖. ส่งเสริมการด าเนินงานการเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ (S๑๐,T๔)
 ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดโครงการ/กิจกรรม ๑ คณะ ๑ ศิลปวัฒนธรรม (S๘,O๗)   ตัวชี้วัด

 ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับหน่วยงานภาครัฐ   ๑. ร้อยละคณะ/หน่วยงานที่ผลสัมฤทธิ์ของการประเมินประกันคุณภาพภายในเพิ่มขึ้น
 หรือชุมชน หรือสังคม (S๘, O๘)   ๒. ระดับความส าเร็จของการจัดท าข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูลกลางอุดมศึกษา (สกอ.)

 ๓. ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยได้บูรณาการการกิจกรรมท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิ  ๓. ระดับความส าเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ

 ปัญญาท้องถิ่น ระหว่างคณะ และหน่วยงานภายในและชุมชน (S๗, O๘)   ๔. ระดับความส าเร็จของการพัฒนาและปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
 ๔. ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานสถาบันความเป็นเลิศทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม

 ของกลุ่มประเทศ (CLMTV) (S๗, O๑)   ยุทธศำสตร์ที่ ๖ ส่งเสริมภำพลักษณ์ของมหำวิทยำลัยให้ได้รับกำรยอมรับและพัฒนำเป็นมหำวิทยำลัยใน
 ๕. ส่งเสริมการผลิตผลงานด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมสูสากล (S๘, O๑๑)   ระดับสำกล

 ตัวชี้วัด     เป้ำประสงค์

 ๑. ระดับความส าเร็จการด าเนินงานโครงการ ๑ คณะ ๑ ศิลปวัฒนธรรม   ๑. มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับในการจัดอันดับ หรือการประเมินคุณภาพในระดับสากล
 ๒. จ านวนผลงาน/โครงการทางด้านท านุศิลปวัฒนธรรมที่ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับหน่วยงาน   ๒. มหาวิทยาลัยมีโครงสร้างพื้นฐาน และศักยภาพในการรองรับความเป็นนานาชาติ

 ภาครัฐหรือเอกชนหรือชุมชนหรือสังคม   กลยุทธ์
 ๓. ระดับความส าเร็จในการด าเนินงานสถาบันความเป็นเลิศทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมของกลุ่ม  ๑. ส่งเสริมให้มีการตีพิมพ์ผลงานระดับชาติและนานาชาติให้สูงขึ้น (W๕,O๑๐)

 ประเทศ (CLMTV)       ๒. เพิ่มจ านวนอาจารย์/นักวิจัย/ผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเพื่อมา

               ร่วมงานสอน และ/หรืองานวิจัย (S๑๐,O๑)
 ยุทธศำสตร์ที่ ๕ พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรให้มีประสิทธิภำพ และยกระดับกำรบริหำรจัดกำรมหำวิทยำลัย  ๓. ส่งเสริมให้มีการจัดสภาวะแวดล้อม ระบบการสื่อสาร เอกสาร และสิ่งอ านวยความสะดวกของ

 ตำมหลักธรรมำภิบำล   มหาวิทยาลัยให้เป็นสากล (W๑,O๑)
 เป้ำประสงค์          ๔. เตรียมความพร้อมของบุคลากรให้สามารถสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เป็นสากล(W๑,O๑)

 ๑. มหาวิทยาลัยมีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องตามเอกลักษณ์ตอบสนองต่อ  ตัวชี้วัด

 การพัฒนามหาวิทยาลัยโดยบริหารตามหลักธรรมาภิบาล   ๑. ระดับความส าเร็จในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ
 ๒. มหาวิทยาลัยมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ   ๒. มหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดอันดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

 ๓. มหาวิทยาลัยมีระบบการบริหารงบประมาณ การเงินและพัสดุ ที่มีประสิทธิภาพและมาตรฐาน
 ๔. มหาวิทยาลัยมีระบบพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพ

 ๕. มีการน าระบบคุณภาพมาใช้ในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35