Page 160 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 160

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



               ผลการเรียนรู้
                       สาระวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ  ม.4/1-12  ม.5/1-13

               รวม    25   ข้อ
                                                     โครงสร้างรายวิชา


                ล าดับ  ชื่อหน่วยการ   มาตรฐานการ                สาระส าคัญ                  เวลา   น้ าหนักค
                 ที่      เรียนรู้   เรียนรู้/ตัวชี้วัด                                    (ชั่วโมง )   ะแนน

                  1    โครงสร้างโลก   สาระการเรียนรู้โล • การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน เช่น  2   10
                                   ก ดาราศาสตร์   องค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่องค์ประกอบทางเคมี
                                   และอวกาศ      ของอุกกาบาต ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก
                                   ผลการเรียนรู้   จึงสามารถแบ่งชั้นโครงสร้างโลกได้ 2 แบบ คือโครงสร้าง

                                   ม.4/1         โลกตามองค์ประกอบทางเคมีแบ่งได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่
                                                 เปลือกโลกเนื้อโลก และแก่นโลก และโครงสร้างโลกตาม
                                                 สมบัติเชิงกล แบ่งได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค ฐานธรณี
                                                 ภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชั้นนอก และแก่นโลกชั้นใน
                                                 นอกจากนี้
                                                 ยังมีการค้นพบรอยต่อระหว่างชั้นโครงสร้างโลกเช่น แนว
                                                 แบ่งเขตโมโฮโรวิซิก แนวแบ่งเขตกูเทนเบิร์ก  แนวแบ่งเขต
                                                 เลห์แมน


               2       การแปรสัณฐา  สาระการเรียนรู้โล • แผ่นธรณีต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบของธรณีภาคซึ่งเป็น  2   10
                       นของแผ่นธรณี  ก ดาราศาสตร์   ชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาด
                                   และอวกาศ      และต าแหน่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนที่ของ
                                   ผลการเรียนรู้   แผ่นธรณีดังกล่าวอธิบายได้ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ซึ่ง
                                   ม.4/2         มีรากฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผ่ขยาย
                                   ม.4/3         พื้นสมุทร โดยมีหลักฐานที่สนับสนุน ได้แก่ รูปร่างของขอบ
                                   ม.4/4         ทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกันได้ความคล้ายคลึงกันของกลุ่ม

                                                 หินและแนวเทือกเขาซากดึกด าบรรพ์ ร่องรอย การ
                                                 เคลื่อนที่ของตะกอนธารน้ าแข็ง ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพ
                                                 กาลอายุหินของพื้นมหาสมุทร รวมทั้งการค้นพบสันเขา
                                                 กลางสมุทร และร่องลึกก้นสมุทร
                                                 • การพาความร้อนของแมกมาภายในโลก ท าให้เกิดการ
                                                 เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน ซึ่ง
                                                 นักวิทยาศาสตร์ได้ส ารวจพบหลักฐานทางธรณีวิทยา ได้แก่
                                                 ธรณีสัณฐานและธรณีโครงสร้างที่บริเวณแนวรอยต่อของ
                                                 แผ่นธรณี เช่น ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง
                                                 แนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุดและสันเขากลาง

                                                 สมุทร รอยเลื่อน นอกจากนี้ยังพบการเกิดธรณีพิบัติภัยที่
                                                 บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
                                                 ระเบิดสึนามิ ซึ่งหลักฐานดังกล่าวสัมพันธ์กับรูปแบบการ




                                                                                                           159
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165