Page 163 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 163
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ล าดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนักค
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) ะแนน
โครงสร้าง รวมทั้งวิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ที่เหมาะสม
เพื่อที่จะน าทรัพยากรมาใช้ได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนแผนที่
ภูมิประเทศ เป็นแผนที่ที่สร้างเพื่อจ าลองลักษณะของผิว
โลกหรือบางส่วนของพื้นที่บนผิวโลกโดยมีทิศทางที่ชัดเจน
และมาตราส่วนขนาดต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกับการใช้
งาน แผนที่ภูมิประเทศมักแสดงเส้นชั้นความสูง และ
ค าอธิบายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่
• แผนที่ธรณีวิทยา เป็นแผนที่แสดงการกระจายตัวของหิน
กลุ่มต่างๆ ที่โผล่ให้เห็นบนพื้นผิว ท าให้ทราบถึงขอบเขต
ของหินในพื้นที่ นอกจากนี้ยังแสดงลักษณะการวางตัวของ
ชั้นหินซากดึกด าบรรพ์ และธรณีโครงสร้าง
• ข้อมูลจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
สามารถน าไปใช้วางแผนการใช้ประโยชน์และประเมิน
ศักยภาพของพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม เช่น ประเมิน
ศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณีต่าง ๆ การวางผังเมือง การ
สร้างเขื่อน
5 สมดุลพลังงาน สาระการเรียนรู้โล • บริเวณต่าง ๆ ของโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ใน 2 10
ของโลก ก ดาราศาสตร์ รูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในปริมาณที่แตกต่างกัน
และอวกาศ เนื่องจากโลกมีสัณฐานคล้ายทรงกลมและแกนหมุนโลก
เอียงท ามุมกับแนวตั้งฉากกับระนาบการโคจรของโลกรอบ
ผลการเรียนรู้ ดวงอาทิตย์ ส่งผลต่อการตกกระทบของรังสีดวงอาทิตย์ ซึ่ง
ม.5/1 ส่วนที่ผ่านเข้ามาในชั้นบรรยากาศจนถึงพื้นผิวโลก จะเกิด
ม.5/2 กระบวนการสะท้อนดูดกลืน และถ่ายโอนพลังงาน แล้ว
ปลดปล่อยกลับสู่อวกาศแตกต่างกันเนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ
เช่น ลักษณะของพื้นผิว ชนิดและปริมาณของแก๊สเรือน
กระจก ละอองลอย และเมฆ ท าให้พื้นผิวโลกแต่ละบริเวณ
มีอุณหภูมิอากาศแตกต่างกัน
• พลังงานจากดวงอาทิตย์โดยเฉลี่ยที่โลกได้รับเท่ากับ
พลังงานเฉลี่ยที่โลกปลดปล่อยกลับสู่อวกาศท าให้เกิดสมดุล
พลังงานของโลก ส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลกใน
แต่ละปีค่อนข้างคงที่
6 การหมุนเวียนข สาระการเรียนรู้ • การหมุนเวียนของอากาศเกิดขึ้นจาก 2 12
องอากาศบนโล โลก าราศาสตร์ ความกดอากาศที่แตกต่างกันระหว่างสองบริเวณโดย
ก และอวกาศ อากาศเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยัง
บริเวณที่มีความกดอากาศต่ าซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนในการ
ผลการเรียนรู้ เคลื่อนที่ของอากาศในแนวราบและเมื่อพิจารณาในการ
162
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)