Page 168 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 168

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                                                     โครงสร้างรายวิชา
                ล าดับที่  ชื่อหน่วยการ   มาตรฐานการ            สาระส าคัญ                เวลา    น้ าหนัก
                          เรียนรู้   เรียนรู้/ตัวชี้วัด                                 (ชั่วโมง )   คะแนน
                  1    เอกภพ       สาระการเรียนรู้โลก   • ทฤษฎีก าเนิดเอกภพที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ   4   20
                                   ดาราศาสตร์       ทฤษฎีบิกแบง ระบุว่าเอกภพเริ่มต้นจากบิกแบงที่
                                   และอวกาศ         เอกภพมีขนาดเล็กมาก และมีอุณหภูมิสูงมาก ซึ่ง
                                                    เป็นจุดเริ่มต้นของเวลาและวิวัฒนาการของเอกภพ
                                   ผลการเรียนรู้    โดยหลังเกิดบิกแบง เอกภพเกิดการขยายตัวอย่าง
                                   ม.6/1            รวดเร็ว มีอุณหภูมิลดลง มีสสารคงอยู่ในรูปอนุภาค
                                   ม.6/2            และปฏิยานุภาคหลายชนิด และมีวิวัฒนาการ
                                   ม.6/3            ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเนบิวลา กาแล็กซี ดาว
                                                    ฤกษ์ และระบบสุริยะเป็นสมาชิกบางส่วนของเอก
                                                    ภพ
                                                    • หลักฐานส าคัญที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง คือการ
                                                    ขยายตัวของเอกภพ ซึ่งอธิบายด้วยกฎฮับเบิล  โดย
                                                    ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วแนวรัศมีและ
                                                    ระยะทางของกาแล็กซีที่เคลื่อนที่ห่างออกจากโลก
                                                    และหลักฐานอีกประการ คือ การค้นพบไมโครเวฟ
                                                    พื้นหลังที่กระจายตัวอย่างสม่ าเสมอทุกทิศทาง
                                                    และสอดคล้องกับอุณหภูมิเฉลี่ยของอวกาศ มี
                                                    ค่าประมาณ 2.73 เคลวิน
                                                    • กาแล็กซี ประกอบด้วย ดาวฤกษ์จ านวนหลาย
                                                    แสนล้านดวง ซึ่งอยู่กันเป็นระบบของดาวฤกษ์
                                                    นอกจากนี้ยังประกอบด้วยเทห์ฟ้าอื่น เช่น เนบิวลา
                                                    และสสารระหว่างดาว โดยองค์ประกอบต่าง ๆ
                                                    ภายในของกาแล็กซี อยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วง
                                                    • กาแล็กซีมีรูปร่างแตกต่างกัน โดยระบบสุริยะอยู่
                                                    ในกาแล็กซีทางช้างเผือกซึ่งเป็นกาแล็กซีกังหันแบบ
                                                    มีคาน มีโครงสร้าง คือ นิวเคลียส จาน และฮาโล
                                                    ดาวฤกษ์จ านวนมากอยู่ในบริเวณนิวเคลียสและ
                                                    จาน โดยมีระบบสุริยะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของ
                                                    กาแล็กซีทางช้างเผือก ประมาณ 30,000 ปีแสงซึ่ง
                                                    ทางช้างเผือกที่สังเกตเห็นในท้องฟ้าเป็นบริเวณ
                                                    หนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือกในมุมมองของคน
                                                    บนโลก แถบฝ้าสีขาวจาง ๆ ของทางช้างเผือคือดาว
                                                    ฤกษ์ ที่อยู่อย่างหนาแน่นในกาแล็กซีทางช้างเผือก
               2       ดาวฤกษ์     สาระการเรียนรู้โลก   • ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยู่รวมกันเป็นระบบดาวฤกษ์   4   20
                                   ดาราศาสตร์       คือ ดาวฤกษ์ที่อยู่รวมกัน ตั้งแต่ 2 ดวงขึ้นไป ดาว
                                   และอวกาศ         ฤกษ์เป็นก้อนแก๊สร้อนขนาดใหญ่ เกิดจากการ
                                                    ยุบตัวของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใต้แรงโน้มถ่วง
                                   ผลการเรียนรู้    ท าให้บางส่วนของเนบิวลามีขนาดเล็กลง ความดัน
                                   ม.6/4            และอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเกิดเป็นดาวฤกษ์ก่อนเกิด เมื่อ
                                   ม.6/5            อุณหภูมิที่แก่นสูงขึ้น
                                   ม.6/6            จนเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ ดาวฤกษ์ก่อน
                                   ม.6/7            เกิดจะกลายเป็นดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อยู่ในสภาพ
                                   ม.6/8            สมดุลระหว่างแรงดันกับแรงโน้มถ่วงซึ่งเรียกว่า




                                                                                                           167
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173