Page 172 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 172
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ล าดับที่ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนัก
เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) คะแนน
อายุได้ ๒ แบบ ได้แก่ อายุเปรียบเทียบ คืออายุของ
ซากดึกด าบรรพ์ หิน และ/หรือเหตุการณ์ทาง
ธรณีวิทยา เมื่อเทียบกับซากดึกด าบรรพ์ หิน และ/
หรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอื่น ๆ และอายุ
สัมบูรณ์ คือ อายุที่ระบุเป็นตัวเลขของหิน และ/
หรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาซึ่งค านวณได้จาก
ไอโซโทปของธาตุ
• ข้อมูลจากอายุเปรียบเทียบและอายุสัมบูรณ์
สามารถน ามาจัดท ามาตราธรณีกาล คือ การล าดับ
ช่วงเวลาของโลกตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบันแบ่ง
ออกเป็น บรมยุค มหายุค ยุค และสมัย ซึ่งแต่ละ
ช่วงเวลามีสิ่งมีชีวิต สภาพแวดล้อมและเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นแตกต่างกัน
6 ปรากฏการณ์ สาระการเรียนรู้โลก •ภูเขาไฟระเบิด เกิดจากการแทรกดันของแมกมา
ทางธรณีวิทยา ดาราศาสตร์ ขึ้นมาตามส่วนเปราะบาง หรือรอยแตกบนเปลือก
และอวกาศ โลก มักพบหนาแน่นบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่น
ธรณีท าให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่เสี่ยงภัย ความ
ผลการเรียนรู้ รุนแรงของการปะทุและรูปร่างของภูเขาไฟที่
ม.4/5 แตกต่างกันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของแมกมา ผล
ม.4/6 จากการระเบิดของภูเขาไฟมีทั้งประโยชน์และโทษ
ม.4/7 จึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวัง และการ
ปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
• แผ่นดินไหวเกิดจากการปลดปล่อยพลังงานที่
สะสมไว้ของเปลือกโลกในรูปของคลื่นไหวสะเทือน
แผ่นดินไหวมีขนาดและความรุนแรงแตกต่างกัน
และท าลายทรัพย์สิน ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวมักอยู่
บริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี และพื้นที่ภายใต้
อิทธิพลของการเคลื่อนของแผ่นธรณีที่ระดับความ
ลึกต่างกัน ให้บริเวณดังกล่าวเป็นพื้นที่เสี่ยงภัย
แผ่นดินไหว ซึ่งส่งผลให้สิ่งก่อสร้างเสียหายเกิด
อันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงต้องศึกษา
แนวทางในการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้
ปลอดภัย
• สึนามิ คือคลื่นน้ าที่เกิดจากการแทนที่มวลน้ าใน
ปริมาณมหาศาล ส่วนมากจะเกิดในทะเลหรือ
มหาสมุทร โดยคลื่นมีลักษณะเฉพาะ คือความยาว
คลื่นมากและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงเมื่ออยู่กลาง
มหาสมุทรจะมีความสูงคลื่นน้อยและอาจเพิ่มความ
สูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อคลื่น
เคลื่อนที่ผ่านบริเวณน้ าตื้น ท าให้พื้นที่บริเวณ
ชายฝั่งบางบริเวณเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิก่อให้เกิด
อันตรายแก่มนุษย์และสิ่งก่อสร้างในบริเวณ
ชายหาดนั้น จึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวัง
และการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
7 ธรณีประวัติ สาระการเรียนรู้โลก • แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสถานะ
171
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)