Page 169 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 169

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                ล าดับที่  ชื่อหน่วยการ   มาตรฐานการ            สาระส าคัญ                เวลา    น้ าหนัก
                          เรียนรู้   เรียนรู้/ตัวชี้วัด                                 (ชั่วโมง )   คะแนน
                                   ม.6/9            สมดุลอุทกสถิต จึงท าให้ดาวฤกษ์มีขนาดคงที่เป็น
                                                    เวลานานตลอดช่วงชีวิตของดาวฤกษ์
                                                    • ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยาหลักของ
                                                    กระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ท าให้เกิด
                                                    การหลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียส
                                                    ฮีเลียมที่แก่นของดาวฤกษ์ ซึ่งมี 2 กระบวนการ คือ
                                                    ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน และวัฏจักร
                                                    คาร์บอน ไนโตรเจนออกซิเจน
                                                    • ความส่องสว่างของดาวฤกษ์เป็นพลังงานจากดาว
                                                    ฤกษ์ที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา ๑ วินาทีต่อหน่วย
                                                    พื้นที่ ณ ต าแหน่งของผู้สังเกต แต่เนื่องจากตาของ
                                                    มนุษย์ไม่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความส่อง
                                                    สว่างที่มีค่าน้อย ๆ จึงก าหนดค่าการเปรียบเทียบ
                                                    ความส่องสว่างของดาวฤกษ์
                                                    ด้วยค่าโชติมาตร ซึ่งเป็นการแสดงระดับ
                                                    ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ (หรือเทห์ฟ้าอื่น) ณ
                                                    ต าแหน่งของผู้สังเกต
                                                    • สีของดาวฤกษ์สัมพันธ์กับอุณหภูมิผิว
                                                    ซึ่งนักดาราศาสตร์ใช้ดัชนีสีในการแบ่งชนิด
                                                    สเปกตรัม ของดาวฤกษ์ และใช้สเปกตรัมในการ
                                                    จ าแนกชนิดของดาวฤกษ์
                                                    • การหาระยะทางของดาวฤกษ์ที่มีระยะทางห่าง
                                                    จากโลกไม่เกิน ๑๐๐ พาร์เซก มีวิธีการที่ส าคัญ คือ
                                                    วิธีแพรัลแลกซ์ โดยวัดมุมแพรัลแลกซ์ของดาวฤกษ์
                                                    เมื่อโลกเปลี่ยนต าแหน่งไปในวงโคจร ท าให้
                                                    ต าแหน่งปรากฏของดาวฤกษ์เปลี่ยนไปเมื่อเทียบ
                                                    กับดาวฤกษ์อ้างอิง
                                                    • มวลของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับมวลของดาวฤกษ์ก่อน
                                                    เกิด ดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะผลิตและใช้พลังงาน
                                                    มาก จึงมีอายุสั้นกว่าดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย
                                                    • ดาวฤกษ์มีการวิวัฒนาการที่แตกต่างกัน
                                                    การวิวัฒนาการและจุดจบของดาวฤกษ์ขึ้นอยู่กับ
                                                    มวลตั้งต้นของดาวฤกษ์ ส่วนใหญ่เทียบกับจ านวน
                                                    เท่าของมวลดวงอาทิตย์
                                                    • ดาวฤกษ์จะมีการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการ
                                                    ตามวิวัฒนาการ โดยนักวิทยาศาสตร์ได้แสดงการ
                                                    เปลี่ยนแปลงดังกล่าวด้วยแผนภาพเฮิร์ซปรุง-รัส
                                                    เซลล์
                                                    ซึ่งเป็นแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโชติ
                                                    มาตรสัมบูรณ์และดัชนีสีของดาวฤกษ์ โดยดาวฤกษ์
                                                    ส่วนใหญ่จะอยู่ในแถบล าดับหลัก ซึ่งเป็นแถบที่
                                                    แสดงว่าดาวฤกษ์จะมีช่วงชีวิตส่วนใหญ่อยู่ใน
                                                    สภาวะสมดุล
                  3    ระบบสุริยะ   สาระการเรียนรู้โลก   • ระบบสุริยะเกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มฝุ่น  4   20
                                   ดาราศาสตร์       และแก๊สที่เรียกว่า เนบิวลาสุริยะ โดยฝุ่นและแก๊ส



                                                                                                           168
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174