Page 170 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 170

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                ล าดับที่  ชื่อหน่วยการ   มาตรฐานการ            สาระส าคัญ                เวลา    น้ าหนัก
                          เรียนรู้   เรียนรู้/ตัวชี้วัด                                 (ชั่วโมง )   คะแนน
                                   และอวกาศ         ประมาณร้อยละ 99.8ของมวล ได้รวมตัวเป็นดวง
                                                    อาทิตย์ซึ่งเป็นก้อนแก๊สร้อน หรือพลาสมาสสาร
                                   ผลการเรียนรู้    ส่วนที่เหลือรวมตัวเป็นดาวเคราะห์และบริวารอื่น
                                   ม.6/10           ๆ ของดวงอาทิตย์ ดังนั้นจึงแบ่งเขตบริวารของดวง
                                   ม.6/11           อาทิตย์ตามลักษณะการเกิดและองค์ประกอบ
                                   ม.6/12           ได้แก่ ดาวเคราะห์ชั้นในดาวเคราะห์น้อย ดาว
                                                    เคราะห์ชั้นนอก และดงดาวหาง
                                                    • โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิต
                                                    เพราะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสม
                                                    จึงเป็นเขตที่เอื้อต่อการมีสิ่งมีชีวิต ท าให้โลกมี
                                                    อุณหภูมิเหมาะสมและสามารถเกิดน้ าที่ยังคง
                                                    สถานะเป็นของเหลวได้ และปัจจุบันมีการค้นพบ
                                                    ดาวเคราะห์ที่อยู่นอกระบบสุริยะจ านวนมากโดยมี
                                                    ดาวเคราะห์บางดวงที่มีลักษณะคล้ายโลกและอยู่ใน
                                                    เขตที่เอื้อต่อการมีสิ่งมีชีวิต
                                                    • บริวารของดวงอาทิตย์อยู่รวมกันเป็นระบบ
                                                    ภายใต้แรงโน้มถ่วงระหว่างดาวเคราะห์กับดวง
                                                    อาทิตย์ตามกฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ส่วนการ
                                                    โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์เป็นไปตาม
                                                    กฎเคพเลอร์
                                                    • ดวงอาทิตย์มีโครงสร้างภายในแบ่งเป็นแก่น เขต
                                                    การแผ่รังสี และเขตการพาความร้อนและมีชั้น
                                                    บรรยากาศอยู่เหนือเขตพาความร้อน ซึ่งแบ่งเป็น 3
                                                    ชั้น คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชั้นโครโมสเฟียร์ และคอโร
                                                    นา ในชั้นบรรยากาศ ของดวงอาทิตย์ มี
                                                    ปรากฏการณ์ส าคัญ เช่น จุดมืดดวงอาทิตย์ การลุก
                                                    จ้า ที่ท าให้เกิดลมสุริยะ และพายุสุริยะ ซึ่งส่งผลต่อ
                                                    โลก
                                                    • ลมสุริยะ เกิดจากการแพร่กระจายของอนุภาค
                                                    จากชั้นคอโรนาออกสู่อวกาศตลอดเวลา อนุภาคที่
                                                    หลุดออกสู่อวกาศเป็นอนุภาคที่มีประจุลมสุริยะ
                                                    ส่งผลท าให้เกิดหางของดาวหางที่เรืองแสงและชี้ไป
                                                    ทางทิศตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์และเกิด
                                                    ปรากฏการณ์แสงเหนือ แสงใต้
                                                    • พายุสุริยะ เกิดจากการปลดปล่อยอนุภาคมีประจุ
                                                    พลังงานสูงจ านวนมหาศาล มักเกิดบ่อยครั้งในช่วง
                                                    ที่มีการลุกจ้า และในช่วงที่มีจุดมืดดวงอาทิตย์
                                                    จ านวนมาก และในบางครั้งมีการพ่นก้อนมวลคอโร
                                                    นา พายุสุริยะอาจส่งผลต่อสนามแม่เหล็กโลก จึง
                                                    อาจรบกวนระบบการส่งกระแสไฟฟ้าและการ
                                                    สื่อสาร รวมทั้งอาจส่งผลต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
                                                    ของดาวเทียม นอกจากนั้นมักท าให้เกิด
                                                    ปรากฏการณ์แสงเหนือ แสงใต้ที่สังเกตได้ชัดเจน
                  4    โครงสร้าง   สาระการเรียนรู้โลก   • การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ข้อมูลหลายด้าน เช่น   5   30
                       โลก         ดาราศาสตร์       องค์ประกอบทางเคมีของหินและแร่องค์ประกอบ



                                                                                                           169
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175