Page 164 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 164
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ล าดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระส าคัญ เวลา น้ าหนักค
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง ) ะแนน
ม.5/3 เคลื่อนที่ของอากาศในแนวดิ่งจะพบว่าอากาศเหนือบริเวณ
ม.5/4 ความกดอากาศต่ าจะมีการยกตัวขึ้น ขณะที่อากาศเหนือ
บริเวณความกดอากาศสูงจะจมตัวลงโดยการเคลื่อนที่ของ
อากาศทั้งในแนวราบและแนวดิ่งนี้ ท าให้เกิดเป็นการ
หมุนเวียนของอากาศ
• การหมุนรอบตัวเองของโลกจะท าให้เกิดแรงคอริออลิสซึ่ง
มีผลให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศเบนไป โดยอากาศที่
เคลื่อนที่ในบริเวณซีกโลกเหนือจะเบนไปทางขวาจาก
ทิศทางเดิมส่วนบริเวณซีกโลกใต้จะเบนไปทางซ้ายจาก
ทิศทางเดิม เช่น ลมค้า และมรสุม
• แรงสู่ศูนย์กลางซึ่งท าให้เกิดการหมุนของลม เช่นพายุ
หมุนเขตร้อน ทอร์นาโด พายุงวงช้าง และแรงต้านการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงเสียดทานส่งผลต่ออัตราเร็วลม
เช่น พายุไต้ฝุ่นเมื่อเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งจะลดระดับความ
รุนแรงลงเป็นพายุโซนร้อนหรือดีเพรสชั่น
• แต่ละบริเวณของโลกมีความกดอากาศแตกต่างกัน
ประกอบกับอิทธิพลจากการหมุนรอบตัวเองของโลกท าให้
อากาศในแต่ละซีกโลกเกิดการหมุนเวียนของอากาศตาม
เขตละติจูด แบ่งออกเป็น 3 แถบ โดยแต่ละแถบมี
ภูมิอากาศแตกต่างกัน ได้แก่ การหมุนเวียนแถบขั้วโลกมี
ภูมิอากาศ แบบหนาวเย็น การหมุนเวียนแถบละติจูดกลาง
มีภูมิอากาศแบบอบอุ่น และการหมุนเวียน แถบเขตร้อนมี
ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
• บริเวณรอยต่อของการหมุนเวียนอากาศแต่ละแถบ
ละติจูด จะมีลักษณะลมฟ้าอากาศที่แตกต่างกัน เช่น
บริเวณใกล้ศูนย์สูตรมีปริมาณหยาดน้ าฟ้า เฉลี่ยสูงกว่า
บริเวณอื่น บริเวณละติจูด 30 องศา มีอากาศแห้งแล้ง ส่วน
บริเวณละติจูด 60 องศา อากาศมีความแปรปรวนสูง
7 การหมุนเวียนข สาระการเรียนรู้โล • น้ าในมหาสมุทรมีอุณหภูมิและความเค็มของน้ าแตกต่าง 2 10
องน้ าในมหาสมุ ก ดาราศาสตร์ กันในแต่ละบริเวณ และแต่ละระดับความลึก ซึ่งหาก
ทร และอวกาศ พิจารณามวลน้ าในแนวดิ่งและใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ จะ
สามารถแบ่งชั้นน้ าได้เป็น 3 ชั้น คือ น้ าชั้นบน น้ าชั้นเทอร์
ผลการเรียนรู้ โมไคลน์และน้ าชั้นล่าง
ม.5/5 • การหมุนเวียนของกระแสน้ าผิวหน้าในมหาสมุทรได้รับ
ม.5/6 อิทธิพลจากการหมุนเวียนของอากาศในแต่ละแถบละติจูด
ม.5/7 เป็นปัจจัยหลัก ประกอบกับแรงคอริออลิสท าให้บริเวณซีก
โลกเหนือมีการไหลเวียนของกระแสน้ าผิวหน้าในทิศทาง
163
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)