Page 297 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 297
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
โครงสร้างรายวิชา
ล าดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการเรียน สาระส าคัญ เวลา น้ าหนัก
ที่ เรียนรู้ รู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 การรับรู้และกา สาระ ชีววิทยา • สิ่งมีชีวิตในปัจจุบันมีความหลากหลายและมี 20 17
รตอบ ผลการเรียนรู้ ข้อ 4 วิวัฒนาการ โครงสร้างร่างกายที่ซับซ้อนแตกต่างกัน
สนอง ม.6/1-8 สิ่งมีชีวิตที่ร่างกายไม่ซับซ้อนก็มีระบบประสาทใน
ร่างกายไม่ซับซ้อนด้วย ดังนั้นสิ่งมีชีวิตที่มีระบบ
ประสาทแตกต่างกันความสามารถในการรับรู้
ตอบสนองก็ต่างกันด้วย
• โครงสร้างของเซลล์ประสาทมีหลายรูปแบบขึ้นอยู่
กับการส่งกระแสประสาท
• ระบบประสาทในร่างกายของมนุษย์แบ่งเป็น 2
ระบบหลักคือระบบประสาทส่วนกลางและระบบ
ประสาทรอบนอก และมีการแยกย่อยตามระบบ
ประสาทสั่งการอีกด้วย
• ระบบประสาทเป็นตัวควบคุมการท างานของอวัยวะ
รับสัมผัสต่างๆ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
2 พันธุศาสตร์ สาระ ชีววิทยา • เมนเดลศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 31 21
ผลการเรียนรู้ โดยการผสมพันธุ์ถั่วลันเตา จนสรุปเป็นกฎแห่งการ
ข้อ 2 ม.4/1-11 แยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ ลักษณะทาง
พันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล
เช่น การข่มไม่สมบูรณ์การข่มร่วมกันมัลติเปิลแอลลี
ลยีนบนโครโมโซมเพศและพอลิยีน
• ลักษณะพันธุกรรมบางลักษณะมีความแตกต่างกัน
ชัดเจน เช่น การมีติ่งหูหรือไม่มีติ่งหูซึ่งเป็นลักษณะ
ทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเนื่อง
• โครโมโซมภายในเซลล์ร่างกายแบ่งเป็นออโตโซม
และโครโมโซมเพศ ลักษณะทางพันธุกรรม
ส่วนใหญ่ถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม
บางลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมเพศซึ่ง
ส่วนมากเป็นยีนบนโครโมโซม X
• การเกิดครอสซิงโอเวอร์ในการแบ่งเซลล์แบบไมโอ
ซิสอาจท าให้ยีนบนโครโมโซมเดียวกันแยกจากกันได้
ส่งผลให้รูปแบบของเซลล์สืบพันธุ์ที่ได้แตกต่างไป
• โมเลกุลของ DNA เป็นพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย
เรียงสลับทิศและบิดเป็นเกลียวเวียนขวา โดยการเข้า
คู่กันของสาย DNA เกิดจากการจับคู่ของเบสคู่สมคือ
A คู่กับ T และ C คู่กับ G
• ยีน คือสาย DNA บางช่วงที่ควบคุมลักษณะทาง
พันธุกรรมได้โดยยีนก าหนดล าดับกรดอะมิโนของ
โปรตีนซึ่งท าหน้าที่เป็นโครงสร้าง เอนไซม์และอื่น ๆ
296
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)