Page 294 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 294

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                 หน่วยที่   ชื่อหน่วย/มาตรฐาน                   สาระส าคัญ                     เวลาเรียน   น้ าหนัก
                               /ตัวชี้วัด                                                        (คาบ)   คะแนน


                   2      ว. 5.1 ม.6/2       โครงสร้างของสารประกอบ อินทรีย์แสดงได้ด้วย สูตร โครงสร้างลิว  4
                                             อิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ หรือ สูตรโครงสร้างแบบเส้น


                   3      ว. 5.1 ม.6/3       สารประกอบอินทรีย์มีหลาย ประเภท การพิจารณาประเภท ของ  4
                                             สารประกอบอินทรีย์อาจใช้ หมู่ฟังก์ชันเป็นเกณฑ์ได้เป็นแอลเคน
                                             แอลคีน แอลไคน์ อะโร มาติกไฮโดรคาร์บอน แอลกอฮอล์ อีเทอร์

                                             เอมีน แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก เอสเทอร์ เอไมด์

                   4      ว. 5.1 ม.6/4       การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ ประเภทแอลเคน แอลคีน แอล   4

                                             ไคน์ แอลกอฮอล์ อีเทอร์ เอมีน แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิ
                                             ลิก เอสเทอร์ และ เอไมด์ จะ เรียกตามระบบ IUPAC หรืออาจ
                                             เรียกโดยใช้ชื่อสามัญ


                   5      ว. 5.1 ม.6/5       ปรากฏการณ์ที่สารมีสูตรโมเลกุล เหมือนกันแต่มีสมบัติแตกต่างกัน   4
                                             เรียกว่า ไอโซเมอริซึม และเรียก สารแต่ละชนิดว่า ไอโซเมอร์ ไอ
                                             โซเมอร์ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน

                                             เรียกว่า ไอโซเมอร์โครงสร้าง

                   6      ว. 5.1 ม.6/6       สารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้าง  4

                                             ของสารต่างกันจะมีจุด เดือดและการละลายในน้ าต่างกัน ส าหรับ
                                             การละลายของ สารพิจารณาได้จากความมีขั้ว ของตัวละลาย และ
                                             ตัวท าละลาย โดยสารสามารถละลายได้ในตัว ท าละลายที่มีขั้ว
                                             ใกล้เคียงกัน


                   7      ว. 5.1 ม.6/7       สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลเคน แอลคีน แอลไคน์อะโร     4
                                             มาติกไฮโดรคาร์บอน เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่ง เมื่อ
                                             เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับโบรมีนและปฏิกิริยา กับ

                                             โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต จะให้ผลของปฏิกิริยาต่างกัน จึง
                                             สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการ จ าแนกประเภทของสารประกอบ
                                             ไฮโดรคาร์บอนได้


                   8      ว. 5.1 ม.6/8       กรดคาร์บอกซิลิกท าปฏิกิริยากับ แอลกอฮอล์ได้เป็นเอสเทอร์   6
                                             เรียกว่า ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน กรดคาร์บอกซิลิกท าปฏิกิริยากับ
                                             เอมีนเกิดเป็นเอไมด์ เอสเทอร์ และเอไมด์สามารถเกิดปฏิกิริยา

                                             ไฮโดรลิซิส

                   9      ว. 5.1 ม.6/9       ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเอสเทอร์ ในเบสแอลคาไล เรียกว่า   2






                                                                                                           293
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299