Page 327 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 327
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
ชุมชน สามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการปกครองของชนชาติไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและรู้ข้อมูล
เบื้องต้นของจังหวัดมหาสารคาม เกี่ยวกับการเมืองเศรษฐกิจประชากรพลเมืองที่น่านับถือ และศึกษาภูมิ
ปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมความเชื่อ ตลอดจนบุคคลส าคัญในประวัติศาสตร์ไทยเพื่อให้
เกิดความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและวิถีชีวิตไทย สามารถน ามาเป็นแบบอย่างที่ดีในการด าเนินชีวิต
ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ส 1.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ส 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ส 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
รวมตัวชี้วัด 26 ข้อ
โครงสร้างรายวิชา
หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ เวลา น้ าหนัก
สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
ที่ การเรียนรู้ ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ เกี่ยวกับ
- ปฐมนิเทศ - เนื้อหาที่จะเรียนการวัดการประเมินผลการวิเคราะ 1 -
ห์ผู้เรียนทดสอบก่อนเรียน
1 ประวัติและควา ส 1.1ม.3/1 ม.3/2 พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั่ว 2 3
มส าคัญของพระ โลก ส่งผลให้มีการนับถือพระพุทธศาสนาอย่าง
พุทธศาสนา กว้างขวางในหลายประเทศโดยเฉพาะดินแดน ใน
ภูมิภาคเอเชีย พระพุทธศาสนา มี
ความส าคัญในการสร้างสรรค์ อารยธรรมและความ
สงบสุขแก่ชาวโลก
2 พุทธประวัติ ส 1.1ม.3/4ม.3/5 การศึกษาพุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า 2 3
พระสาวก และศาสนิกชนตัวอย่างย่อมท าให้ได้ข้อคิดและแบบ
ศาสนิกชนตัวอย่ อย่างการด าเนินชีวิตไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติต
าง นอย่างเหมาะสม
และชาดก
3 หลักธรรมทางพ ส 1.1ม.3/6ม.3/7 ข้อธรรมส าคัญในกรอบอริยสัจ 4 เป็นหลักค าสอน 3 5
ระพุทธศาสนา ของพระพุทธศาสนา ซึ่งท าให้ผู้ปฏิบัติได้น าไปใช้
เพื่อการพัฒนาตน เตรียมพร้อมส าหรับการท างาน
และมีครอบครัว โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้ที่มี
ความส าคัญในการเผยแผ่หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา
4 พระไตรปิฎกแล ส 1.1ม.3/6 หลักธรรมค าสอนของพระพุทธศาสนาได้ถูก 3 5
ะพุทธศาสนสุภา รวบรวมไว้ในพระไตรปิฎก โดยจัดเป็นหมวดพระ
326
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)