Page 328 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 328

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



              หน่วย     ชื่อหน่วย      มาตรฐาน/            สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด           เวลา    น้ าหนัก
                ที่     การเรียนรู้     ตัวชี้วัด                                           (ชั่วโมง)   คะแนน
                           ษิต                      วินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
                                                    ในพระไตรปิฎกมีพุทธศาสน-สุภาษิตซึ่งมีข้อคิด

                                                    เตือนสติให้บุคคลด าเนินชีวิตไปในทางที่ดีงาม
                5     หน้าที่ชาวพุทธแ ส 1.2 ม.3/1   ชาวพุทธทุกคนพึงปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก   3      5
                      ละมารยาทชาว ม.3/2 ม.3/3       และบุคคลต่างๆตามมารยาทชาวพุทธ ปฏิบัติหน้าที่

                          พุทธ      ม.3/6 ม.3/7     ของศาสนิกชนที่ดี แสดงตนเป็น พุทธมามกะ เสนอ
                                                    แนวทางในการ ธ ารงรักษาพระพุทธศาสนา
                6     วันส าคัญทางพร ส 1.2          การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมอย่างถูกต้อง   3      5
                      ะพุทธศาสนาแล ม.3/4            เป็นการแสดงความเคารพในหลักค าสอนและธ ารงรั

                        ะศาสนพิธี   ม.3/5           กษาไว้ซึ่งศาสนาที่นับถือ
                7     การบริหารจิตแ ส 1.1           การบริหารจิตและการเจริญปัญญาด้วยอานาปานส   2         2
                           ละ          ม.3/8        ติ การน าวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ แบบอริยสัจ

                      การเจริญปัญญา  ม.3/9          และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย มีผลต่อการพัฒนา
                8     พระพุทธศาสนา ส 1.1            พระพุทธศาสนามีหลักธรรม  ซึ่งสอดคล้องกับการ  1        2
                      กับการแก้ปัญหา ม.3/3          พัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหลักส าคัญของแนวความคิดของ

                      และการพัฒนา                   เศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลต่อการด าเนินชีวิตของ
                                                    มนุษย์อย่างมีคุณภาพ
                9     ศาสนากับการอ ส 1.1ม.3/10      การยอมรับในความแตกต่างทาง ความเชื่อและ     3         5

                      ยู่ร่วมกันในประเ              หลักธรรมของศาสนาอื่น ย่อมท าให้เกิดการยอมรับ
                         ทศไทย                      ในวิถีการด าเนินชีวิตที่แตกต่างกันของศาสนิกชน
                10    กฎหมายแพ่งแล ส 2.1  ม. 3/1    การกระท าความผิดทางอาญาและทางแพ่งมีความแ   3         5
                         ะอาญา                      ตกต่างกันในลักษณะของการกระท าความผิดและบ

                                                    ทลงโทษ
                11     สิทธิมนุษยชน  ส 2.1  ม. 3/2   สิทธิมนุษยชนมีความส าคัญต่อการด ารง       3         5
                                                    ชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นทุกคนจึงต้องมีส่วนร่วมในการ

                                                    คุ้มครองผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน โดยเป็นไป
                                                    ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                                                    ไทยตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม
                12    วัฒนธรรมไทยแ ส 2.1  ม. 3/3    วัฒนธรรมมีความส าคัญต่อวิถีการด าเนินชีวิตของ  3     5

                      ละวัฒนธรรมสา                  มนุษย์ ดังนั้นทุกคนจึงต้องร่วมมือกันอนุรักษ์
                           กล                       วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลอย่าง
                                                    เหมาะสม

                13      สังคมไทย    ส 2.1           การขัดแย้งในประเทศส่งผลกระทบต่อ                      3   5
                                    ม. 3/4          ความมั่นคงและการพัฒนาประเทศซึ่งทุกคนควรให้
                                    ม. 3/5          ความร่วมมือกันหาแนวทางเพื่อลดความขัดแย้ง





                                                                                                           327
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333