Page 9 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 9

4
                                                                                                        ๔                                                                                                                      ๕



                                               นโยบำยกำรศึกษำระดับชำติ                                                                แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)

                                                                                                                                      ยุทธศำสตร์ที่  ๑ กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพทุนมนุษย์

               รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ (ฉบับที่ ๒๐)                                                                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ให้ความส าคัญกับการ

                       หมวด ๕ หน้ำที่ของรัฐ  มำตรำ ๕๔ ความว่า                                                                         วางรากฐานการพัฒนาคน ให้มีความสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี
                       “ รัฐต้องด าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษา

               ภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย                                                                             มีทักษะทางสมอง ทักษะ การเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทย
                                                                                                                                      ในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตส านึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มี
                        รัฐต้องด าเนินให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา                      ทักษะความรู้และ ความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพื้นฐานของการมี

               ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง                         สถาบันทางสังคม ที่เข้มแข็งทั้งสถาบันครอบครัวสถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และ

               ส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการด าเนินด้วย                                                                  ภาคเอกชนที่ร่วมกัน พัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมส าคัญในการขับเคลื่อนการ

                       รัฐต้องด าเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม ให้มี                       พัฒนาประเทศ

               การเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ใน
               การจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ด าเนินการ ก ากับ  ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา                         ๑. วัตถุประสงค์

               ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อย ต้องมี                                 ๑.๑ เพื่อปรับเปลี่ยนให้คนในสังคมไทยมีค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม

               บทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดท าแผนการศึกษาแห่งชาติ และการด าเนินการ และตรวจสอบการด าเนินการ ให้                                    ๑.๒ เพื่อเตรียมคนในสังคมไทยให้มีทักษะในการด ารงชีวิตส าหรับโลกศตวรรษที่ ๒๑
               เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย                                                                                               ๑.๓ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต
                                                                                                                                              ๑.๔ เพื่อเสริมสร้างสถาบันทางสังคมให้มีความเข้มแข็งเอื้อต่อการพัฒนาคนและประเทศ
                       การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความ
               ถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการด าเนินการให้เด็กเล็ก
                                                                                                                                      ๒. เป้ำหมำยและตัวชี้วัด
               ได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามวรรคสาม
                                                                                                                                               ๒.๑ เป้าหมายการพัฒนา

                        รัฐต้องด าเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัด                                     ๒.๑.๑ คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคมเพิ่มขึ้น
               ของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล่ าในการศึกษา และ                                   ๒.๑.๒ คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น

               เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้                                            ๒.๑.๓ คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วย
               มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี                          ตนเองอย่างต่อเนื่อง

               ด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องก าหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็น                                  ๒.๑.๔ คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น

               อิสระและก าหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว”                                                               ๒.๑.๕ สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น
                                                                                                                                      โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และภาคเอกชน


                                                                                                                                              ๒.๒ ตัวชี้วัด เป้าหมายที่ ๑ คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม
                                                                                                                                      ตัวชี้วัด

                                                                                                                                                    ๒.๒.๑ ประชากรอายุ ๑๓ ปีขึ้นไปมีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรม จริยธรรม
                                                                                                                                      เพิ่มขึ้น

                                                                                                                                                     ๒.๒.๒ คดีอาญามีสัดส่วนลดลง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14