Page 14 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 14

9

 ๘                                                                                                      ๙



 ๓.๒.๒ พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์   แผนยุทธศำสตร์ชำติ ( พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐)
 มีทักษะการท างานและการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน    ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์

        ๑) ปรับกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับ

 พัฒนาการของสมองแต่ละช่วงวัย เน้นพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรมศาสตร์   ๑. บทน ำ
 ด้านคณิตศาสตร์ ด้านศิลปะ และด้านภาษาต่างประเทศ    ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนส าคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมาย

        ๒) สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนา ทักษะชีวิต  การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่ขับเคลื่อนโดยภูมิปัญญาและนวัตกรรมในอีก ๒๐ ปีข้างหน้า ดังนั้น จึงจ าเป็น
 และทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง อาทิ การอ่าน การบ าเพ็ญประโยชน์ทางสังคม การดูแลสุขภาพ การท า  ต้องมีการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ โดยจ าเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนา

 งานร่วมกันเป็นกลุ่ม การวางแผนชีวิต    และยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดีเก่ง และมีคุณภาพพร้อมขับเคลื่อนการ

        ๒) เร่งพัฒนาระบบข้อมูลความต้องการและการผลิตก าลังคนที่มีการบูรณาการ ระหว่าง  พัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา
 หน่วยงาน      มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์

               อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จ าเป็นใน
 ๓.๓ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต    ศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และ

 ๓.๓.๑ ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กที่มีขนาดและจ านวนผู้เรียนต่ ากว่า เกณฑ์  การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทย ที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ

 มาตรฐานให้มีการจัดทรัพยากรร่วมกันให้มีขนาดและจ านวนที่เหมาะสมตามความจ าเป็นของพื้นที่ และ  เกษตรกรยุคใหม่และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง”
 โครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วนวัยเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง    ดังนั้น เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยสามารถได้รับการพัฒนาและยกระดับได้เต็ม

 ๓.๓.๒ ปรับหลักสูตรการผลิตครูที่เน้นสมรรถนะ มีจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นผู้แนะน า  และ  ศักยภาพและเหมาะสม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์จึงได้ก าหนด
 สามารถกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน สร้างมาตรการจูงใจให้ผู้มีศักยภาพสูงเข้ามาเป็นครูปรับระบบ ประเมิน  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่เน้นทั้งการแก้ไขปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบันและการเสริมสร้างและ

 วิทยฐานะทางวิชาชีพให้เชื่อมโยงกับพัฒนาการและผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยน  ยกระดับการพัฒนา ที่ให้ความส าคัญที่ครอบคลุมทั้งในส่วนของการพัฒนาทุนมนุษย์และปัจจัยและสภาพแวดล้อม

 เรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนที่เป็นการพัฒนาสมรรถนะของครูอย่างต่อเนื่อง    ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างครอบคลุม ประกอบด้วย การพัฒนา
 ๓.๓.๓ พัฒนาระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ทั้งด้าน  ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ควบคู่กับการปฏิรูปที่ส าคัญ ทั้งในส่วนของการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม

 ทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษา    เพื่อให้คนมีความดีอยู่ใน ‘วิถี’ การด าเนินชีวิตและมีจิตส านึกร่วมในการสร้างสังคมที่น่าอยู่ และมีการปฏิรูป
 ๓.๓.๔ ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางที่มีศักยภาพ เข้าร่วมระบบทวิ  การเรียนรู้แบบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการ

 ภาคีหรือสหกิจศึกษา สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ประกอบการ ครูฝึกหรือครูพี่เลี้ยงให้ ร่วมวางแผนการ  เรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยน

 จัดการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ และการติดตามประเมินผลผู้เรียน    บทบาทครูการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ
 ๓.๓.๕ ขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ภาคเอกชน และ ผู้เชี่ยวชาญ  พัฒนาผู้เรียนให้สามารถก ากับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเนื่องแม้จะออกจากระบบการศึกษา

 ทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนา งานวิจัยไปสู่  แล้ว รวมถึงความตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลายตลอดจนพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ
 นวัตกรรม รวมทั้งขยายการจัดท าและการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะให้มากขึ้น    ของพหุปัญญาแต่ละประเภท และการปฏิรูประบบเสริมสร้างความรอบรู้และจิตส านึกทางสุขภาพ เพื่อให้คน

     ๓.๓.๖ จัดท าสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านระบบอุปกรณ์ สื่อสาร  ไทยมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีได้ด้วยตนเอง พร้อมกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา

 เคลื่อนที่ให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จ ากัดเวลาและสถานที่ และใช้มาตรการ ทางภาษี  และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ทั้งการเสริมสร้างครอบครัวที่เข้มแข็งอบอุ่นซึ่งเป็นการวางรากฐาน
 จูงใจให้ภาคเอกชนผลิตหนังสือ สื่อการอ่านและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและราคาถูก   การส่งต่อเด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพสู่การพัฒนาในช่วงอายุถัดไป โดยการส่งเสริมการเกิดที่มีคุณภาพ การ

     ๓.๓.๗ ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต อาทิ พิพิธภัณฑ์   สร้างครอบครัวที่เหมาะสมกับคนรุ่นใหม่ การส่งเสริมบทบาทในการมีส่วนร่วมพัฒนาคน การพัฒนาระบบ
 ห้องสมุด โบราณสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ โรงเรียนผู้สูงอายุ รวมทั้งส่งเสริมให้มีระบบการจัดการความรู้ที่  ฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากร

 เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น    มนุษย์ระหว่างกระทรวง/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทาง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19