Page 18 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 18

13

 ๑๒                                                                                                    ๑๓



 ๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงำน ยกระดับศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะแรงงานอย่างต่อเนื่อง  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่
 สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคล และความต้องการของตลาดแรงงาน มีการท างานตามหลักการ  อย่างเป็นระบบ และวัดผลงานจากการพัฒนาผู้เรียนโดยตรง

 ท างานที่มีคุณค่าเพื่อสร้างผลิตภาพเพิ่มให้กับประเทศ มีวัฒนธรรมการท างานที่พึงประสงค์มีความรู้ความเข้าใจ  ๔.๓.๓ กำรเพิ่มประสิทธิภำพระบบบริหำรจัดกำรศึกษำในทุกระดับ ทุกประเภท จัดให้มี

 และมีทักษะทางการเงินเพื่อให้สามารถบริหารจัดการการเงินของตนเองและครอบครัวมีการวางแผนทาง  มาตรฐานขั้นต่ าของโรงเรียนในทุกระดับ จัดโครงสร้างการจัดการการศึกษาเพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อ
 การเงินและมีการออม การรับผิดชอบของพ่อแม่ต่อครอบครัว มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้และการอ านวย  ผลลัพธ์และให้เอื้อต่อการเข้าถึงการศึกษาอย่างเสมอภาค ทั่วถึง และใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ

 ความสะดวกด้านความรู้เพื่อพัฒนาความรู้แรงงานฝีมือ ความช านาญพิเศษการเป็นผู้ประกอบการใหม่ และการ  ยกระดับสถาบันการศึกษาในสาขาที่มีความเชี่ยวชาญสู่ความเป็นเลิศ ปฏิรูปการคลังด้านการศึกษาเพื่อเพิ่ม
 พัฒนาต่อยอดความรู้ในการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ รวมทั้งมาตรการขยายอายุการท างาน   คุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโดยการจัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจาก

 ๔.๒.๔ ช่วงวัยผู้สูงอำยุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลังในการขับเคลื่อนประเทศ ส่งเสริมให้มี  ภาคเอกชนในการจัดการศึกษา พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาโดยแยกออกจากระบบการประเมินและ

 การท างานหลังเกษียณ ผ่านการเสริมทักษะการด ารงชีวิต ทักษะอาชีพในการหารายได้มีงานท าที่เหมาะสมกับ  การรับรองคุณภาพที่เน้นผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน รวมทั้งมีการปฏิรูประบบการสอบที่น าไปสู่การวัดผลในเชิงทักษะ
 ศักยภาพ มีการสร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงอายุ พร้อมกับจัดสภาพแวดล้อมให้  ที่จ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ ๒๑ มากกว่าการวัดระดับความรู้ตลอดจนมีการวิจัยและใช้เทคโนโลยีในการสร้าง

 เป็นมิตรกับผู้สูงอายุและหลักประกันทางสังคมที่สอดคล้องกับความจ าเป็นพื้นฐานในการด ารงชีวิต การมีส่วน  และจัดการความรู้ในการจัดการเรียนการสอน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับบริบท
 ร่วมของผู้สูงอายุในสังคม   พื้นที่

 ๔.๓ ปฏิรูปกระบวนกำรเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งเน้นผู้เรียน  ๔.๓.๔ กำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเน้นการจัดระบบการศึกษาและระบบ

 ให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่การเปลี่ยนบทบาทครู  ฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงและยืดหยุ่นผ่านการพัฒนากลไกต่าง ๆ อาทิการพัฒนาการศึกษา
 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างความ  ออนไลน์แบบเปิด การพัฒนาระบบการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการรู้ดิจิทัล การมีระบบเทียบโอนประสบการณ์

 ตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางต าแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชีย  ระบบธนาคารหน่วยกิต มาตรการจูงใจให้คนเข้าสู่การยกระดับทักษะ การให้สถานประกอบการเพิ่มผลิตภาพ
 อาคเนย์และประชาคมโลก การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และการสร้าง  แรงงานผ่านการพัฒนาความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องภายใต้กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ นอกจากนี้ต้อง

 ระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ   พัฒนาระบบการเรียนรู้ในชุมชนให้เข้าถึงความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพื้นที่

 ๔.๓.๑ กำรปรับเปลี่ยนระบบกำรเรียนรู้ให้เอื้อต่อกำรพัฒนำทักษะส ำหรับศตวรรษที่ ๒๑   เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรียนรู้และทบทวนทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การอ่านออก-เขียนได้-คิด
 โดยออกแบบกระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับชั้นอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาที่มุ่งเน้น  เลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม การพัฒนาทัศนคติและแรงบันดาลใจที่

 การใช้ฐานความรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ อาทิความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้งค าถาม ความ  อยากเรียนรู้การสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้และให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึงสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว รวมทั้งน าความรู้ไปพัฒนา
 เข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และการคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา   ต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตได้

 ความรู้และทักษะทางศิลปะ และความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสัมพันธ์การ  ๔.๓.๕ กำรสร้ำงควำมตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบำท ควำมรับผิดชอบ และกำรวำง

 พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติมีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง การสร้าง  ต ำแหน่งของประเทศไทยในภูมิภำคเอเชียอำคเนย์และประชำคมโลก บนพื้นฐานของความเข้าใจลุ่มลึกใน
 ผู้เรียนให้สามารถก ากับการเรียนรู้ของตนได้การหล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้เรียน  ประวัติศาสตร์ประเพณีวัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านเพิ่มการรับรู้ของคนไทยด้าน

 สามารถน าองค์ความรู้ไปใช้ในการสร้างรายได้หลายช่องทาง รวมทั้งการเรียนรู้ด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต   พหุวัฒนธรรม การเห็นคุณค่าและมีความอดกลั้นต่อความแตกต่างทางความเชื่อความคิด วิถีชีวิต ผ่าน
 ๔.๓.๒ กำรเปลี่ยนโฉมบทบำท ‘ครู’ ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก“ครูสอน” เป็น   ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อนบ้าน การแลกเปลี่ยนเด็ก เยาวชน และนักเรียนการฝังตัวและการท างาน

 “โค้ช” หรือ “ผู้อ านวยการการเรียนรู้” ท าหน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะน าวิธีเรียนรู้และวิธีจัด  ระยะสั้นในประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

 ระเบียบการสร้างความรู้ออกแบบกิจกรรมและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัย  ๔.๓.๖ กำรวำงพื้นฐำนระบบรองรับกำรเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม โดยเน้นการ
 พัฒนากระบวนการเรียนรู้เพื่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน รวมทั้งปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูตั้งแต่การดึงดูด   พัฒนาทักษะดิจิทัล ทักษะการคัดกรองความรู้องค์ความรู้การใช้เทคโนโลยีผสมผสานกับคุณค่าของครูไปพร้อม

 คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่าง  กัน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพที่ประชาชนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและใช้ประโยชน์จากระบบการ
 ต่อเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อการสอนและสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มี  เรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านเทคโนโลยีการเรียนรู้สมัยใหม่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23