Page 24 - แผนปฏิบัติราชการ-2564
P. 24

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)



                                    เป้าประสงค์ / ตัวชี้วัด                                                      กลยุทธ์

                                                                            - การมีบทบาทที่ชัดเจนของครูที่ปรึกษาในการส่งเสริม ดูแลนักเรียนอย่างเป็นระบบ ให้ข้อมูล สื่อสาร
                 ตัวชี้วัด ๒.๒.๑ ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ปกครองหรือนักเรียนที่มีต่อ  เพื่อให้ผู้เรียนอยู่ในสังคมอย่างมีคุณธรรม ไม่ก่อความเดือดร้อน มีความฉลาดทางสังคม และการอยู่ใน

                 ระบบการดูแลช่วยเหลือของที่ปรึกษา*
                                                                            สังคม

                 ตัวชี้วัด ๒.๒.๒ ระดับความสำเร็จของการจัดหาหรือพัฒนาระบบ    - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสื่อสารกับผู้ปกครองของนักเรียน เกี่ยวกับเรื่องการเรียนการ
                 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้                     สอนและกิจกรรมอื่น ๆ โดยตรวจสอบความต้องการ ความจำเป็นของเทคโนโลยี วางแผนพัฒนา จัดหา
                                                                            และดูและอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ

                 เป้าประสงค์  ๒.๓ ครูที่ปรึกษามีบทบาทในกิจกรรมการเยี่ยมบ้านหรือหอพักเพื่อให้ทราบข้อมูลนักเรียนเป็นรายคนและค้นหาศักยภาพของนักเรียนในชั้นเรียน

                 ตัวชี้วัด ๒.๓ ระดับความสำเร็จของนักเรียนที่ได้รับการเยี่ยมบ้านหรือ  ส่งเสริมให้ครูมีกิจกรรมเยี่ยมบ้านหรือหอพักนักเรียน (Home Visiting) ระบุกรณีศึกษาผู้เรียนที่ควร
                 หอพักเพื่อกำกับติดตามและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการเรียนรู้*     ติดตามพฤติกรรม ควบคุม แก้ไข ดูแลเพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและไม่ก่อความ
                                                                            เดือดร้อน

                 เป้าประสงค์  ๒.๔ พัฒนากิจกรรมพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Helping) ในการพัฒนาความเป็นเลิศ และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน ตลอดทั้งปลูกฝังจิตใจ
                 ที่ดีงามกับนักเรียน

                 ตัวชี้วัด ๒.๔ ระดับความสำเร็จและความพึงพอใจของกิจกรรมพี่ช่วยน้อง   พัฒนากิจกรรมพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Helping) ในการพัฒนาความเป็นเลิศ อาทิ กิจกรรมพี่
                 เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Helping) ในการพัฒนาความเป็นเลิศและส่งเสริม  ติวน้อง กิจกรรมพี่พาทำดี กิจกรรมเรารักษ์โรงเรียน เพื่อส่งเสริมตัวอย่างรุ่นพี่ที่่ดี และพัฒนารุ่นน้อง

                 ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน*                    รวมทั้งสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์อันดีแก่นักเรียนด้วยกัน
                 เป้าประสงค์  ๒.๕ โรงเรียนมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการสะท้อนปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียนโดยใช้อาศัยการร่วมสังเกตในชั้นเรียน

                 ตัวชี้วัด ๒.๕.๑ ระดับความสำเร็จของการเข้าร่วมประชุมระดับห้องเรียน  ส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นฐานในการมีส่วนร่วมพัฒนาการเรียนการสอน (Family Based) โดยสร้างความ
                 และระดับเครือข่าย                                          ตระหนักแก่ผู้ปกครองให้เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน

                 ตัวชี้วัด ๒.๕.๒ ระดับความสำเร็จของผู้ปกครองที่เข้าร่วมสังเกตชั้นเรียน









                                                                                                                                                        ๒๑
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29