Page 72 - แผนปฏิบัติราชการ ๒๕๖๓.indd
P. 72

เกณฑ์การประเมิน :


 เกณฑ์การให้คะแนน       เกณฑ์การให้คะแนน
                 คะแนน                                  เกณฑ์การให้คะแนน
 ๑   ๒   ๓   ๔   ๕   ๑   นักเรียน ม.๖ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตามคณะ/สาขาที่คาดหวังร้อยละ ๖๐


 น้อยกว่าร้อยละ ๕   ร้อยละ ๕   ร้อยละ ๑๐   ร้อยละ ๑๕   ร้อยละ ๒๐   ขึ้นไป
                   ๒     นักเรียน ม.๖ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตามคณะ/สาขาที่คาดหวังร้อยละ ๖๕

 ข้อมูลที่ต้องรายงาน : อาทิเช่น   ขึ้นไป
 - พิมพ์เขียวแบบทดสอบตามรายวิชา   ๓   นักเรียน ม.๖ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตามคณะ/สาขาที่คาดหวังร้อยละ ๗๐

 - ข้อมูลหลักสูตรซึ่งแสดงถึงจ านวนรายวิชาทั้งหมด   ขึ้นไป
 - ข้อมูลหรือเอกสารที่แสดงถึงการด าเนินการจัดท าพิมพ์เขียวแบบทดสอบ   ๔   นักเรียน ม.๖ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตามคณะ/สาขาที่คาดหวังร้อยละ  ๗๕
 ผู้ก ากับดูแลตัวชี้วัด : ฝ่ายบริหารและแผนงาน/ฝ่ายวิชาการและวิจัย   ขึ้นไป
                   ๕     นักเรียน ม.๖ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตามคณะ/สาขาที่คาดหวังร้อยละ ๘๐
 ตัวชี้วัด ๑.๓.๑ ร้อยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ตาม
 ความคาดหวัง             ขึ้นไป

 หน่วยวัด : ร้อยละ   ข้อมูลที่ต้องรายงาน : อาทิเช่น
     ค าอธิบาย  :          ๑. ข้อมูลแสดงรายชื่อคณะ หรือสาขาวิชา หรืออาชีพที่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ คาดหวัง

     นักเรียนที่สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปี        ๒. ข้อมูลแสดงสาขาวิชา คณะ และสถาบันที่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เลือกเรียน หรือ
 การศึกษาก่อนปีงบประมาณนี้ ๑ ปี ที่จบหลักสูตรการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ของโรงเรียนในทุก  สอบได้
 แผนการเรียน และศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา         ๓. รายงานสรุปร้อยละของนักเรียนที่สอบได้ตามความคาดหวัง

     เกณฑ์การเปรียบเทียบคณะ/สาขาที่เลือกเรียนกับคณะ/สาขาที่เป็นความคาดหวัง ต้องตรงกับข้อใด  ผู้ก ากับดูแลตัวชี้วัด : ฝ่ายบริหารและแผนงาน/ฝ่ายวิชาการและวิจัย
 ข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
 1) นักเรียนแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร   ตัวชี้วัด ๑.๓.๒ ระดับความส าเร็จในการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน

 2) คณะ/สาขา ที่ตรงกับสาขาหลักสูตรที่นักเรียนเลือกเรียนในระดับ ม. ๕-๖   หน่วยวัด : ระดับความส าเร็จ
 3) คณะ หรือสาขาตรงกันกับที่แจ้งไว้   ค าอธิบาย :
 4) คณะ หรือสาขาที่มีจบแล้วได้วุฒิทางการศึกษาตรงกัน เช่น คณะศึกษาศาสตร์ และคณะครุ  ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม หมายถึง นักเรียนโรงเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
 ศาสตร์        มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) มีทักษะความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) และ
 5) คณะ หรือสาขาที่วิชาหรือเนื้อหาสอดคล้องกัน เช่น คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยี
 สารสนเทศ กับคณะวิทยาการสารสนเทศ สาขาการจัดการสารสนเทศ   สามารถสร้างนวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ได้ด้วยตนเอง

 6) คณะ หรือสาขาที่จบแล้วสามารถประกอบอาชีพใกล้เคียงกัน เช่น คณะแพทยศาสตร์ กับ คณะ  นวัตกรรม/ผลงาน หมายถึง
 ทันตแพทยศาสตร์ คณะบัญชีและการจัดการ กับ คณะบริหารธุรกิจ เป็นต้น   ๑) ผลงานจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์
               วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และ
     สูตรค านวณ : ร้อยละของนักเรียนระดับชั้น ม. ๖ ที่สามารถเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในคณะ/สาขา  ภาษาต่างประเทศของนักเรียน ที่ได้รับการประเมินจากครูและผู้ทรงคุณวุฒิว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพ ในระดับ

 ที่คาดหวัง    ดี จากงานแสดงผลงานประจ าปีที่โรงเรียนจัดขึ้น หรือ
 จ านวนนักเรียน ม. ๖ ที่สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ในคณะ  ๒) ผลงานจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์
               วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศิลปะ สุขศึกษาและพลศึกษา การงานอาชีพ และ
 /สาขาที่ตรงกับความคาดหวัง
 × ๑๐๐         ภาษาต่างประเทศที่นักเรียน ที่ได้เข้าร่วมหรือแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรือได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก
 จ านวนนักเรียน ม. ๖ ทั้งหมด
               ใน ระดับต่าง ๆ (เขตพื้นการศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ จัดให้มีเวทีการแสดง/แข่งขัน) หรือ




                                                                                                        67
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77