Page 27 - รายละเอียดตัวชี้วัด.indd
P. 27

๒๔
                                                                                                        24


            ตัวชี้วัด ๔.๒.๒ ระดับความส าเร็จของการค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี   (สาธิต ต ๔.๒.๓)


            หน่วยวัด : ระดับความส าเร็จ

            ค าอธิบาย :
                    การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน

            องกรณ์ซึ่งจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึง
            ความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมี

            ความสามารถ ในเชิงแข่งขัน สูงสุด โดยที่ความรู้มี ๒ ประเภท คือ

                    ๑. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือ
            สัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็น

            ค าพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์บางครั้ง จึง
            เรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม

                    ๒. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธี

            ต่างๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
            โดยกระบวนการในการบริหารจัดการความรู้ในหน่วยงานประกอบด้วย การระบุความรู้ การคัดเลือก การ

            รวบรวม การจัดเก็บความรู้การเข้าถึงข้อมูล และการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน การ

            สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรู้ ภายในหน่วยงานการก าหนดแนววิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการใช้
            เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความรู้ในหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น


            เกณฑ์การประเมิน :

                                                   เกณฑ์การให้คะแนน


                     ๑                  ๒                    ๓                   ๔                 ๕

                  ระดับ ๑            ระดับ ๒              ระดับ ๓             ระดับ ๔           ระดับ ๕

            ระดับ ๑ มีการก าหนดประเด็นความรู้ และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ

            หน่วยงานและสอดคล้องกับพันธกิจหลัก
            ระดับ ๒ มีการก าหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่

            ก าหนดในข้อ ๑

            ระดับ ๓ มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge)
            เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่ก าหนดในข้อ ๑ และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่

            ก าหนด

            ระดับ ๔ มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่ก าหนดในข้อ ๑ ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
            ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดี มาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (Explicit

            Knowledge)

            ระดับ ๕  มีผลลัพธ์ที่แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ซึ่งเกิดจากการจัดการความรู้ตามประเด็น
            ความรู้ที่หน่วยงานก าหนด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32