Page 50 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 50
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ สาระส าคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา น้ าหนักค
ที่ การเรียนรู้ ตัวชี้วัด /ชั่วโมง ะแนน
ศัพท์ในวงการการศึกษา ศัพท์ในวงการการเมือง
และค าศัพท์วงการต่าง ๆ
9 เรื่องวรรณก ท ๑.๑ วรรณกรรมท้องถิ่น 6 5
รรมท้องถิ่น( ม.๓/๓, ๓/๙ เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นหรือเผยแพร่อยู่ในท้อง
ผญา ท.๓.๑ ถิ่นต่างๆ ของไทย มีทั้งที่ถ่ายทอดด้วยปาก คือ
และสรภัญ ม.๓/๒ เล่าหรือขับร้องเป็นเพลง เรียกว่า “มุขปาฐะ”
ญ์) ท ๕.๑ และที่ถ่ายทอดเป็นตัวหนังสือเรียกว่า
ม.๓/๑, ๓/๒, ๓/๓, “วรรณคดีลายลักษณ์”
๓/๔ ซึ่งแต่งเป็นแบบร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้
ผู้แต่งส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่น
เขียนหรือเล่าเพื่อสื่อเรื่องราว ความคิด
ความรู้สึกกับคนในท้องถิ่น
ถ้อยค าภาษาที่ใช้จึงเป็นภาษาท้องถิ่น
โดยทั่วไปแบ่งวรรณคดีท้องถิ่นออกเป็น ๔ กลุ่ม
ตามถ้อยค าภาษาที่ใช้
และหากเป็นวรรณคดีลายลักษณ์ในสมัยก่อนก็
มักใช้ตัวอักษรที่ใช้ในท้องถิ่นนั้นด้วย
รวม 60 100
รหัสวิชา ท23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
วิชา ภาษาไทยพื้นฐาน 6 เวลา 3 ชั่วโมง /สัปดาห์ จ านวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษาการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองอ่านเรื่องต่าง ๆ กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก
ย่อความและรายงานวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่าน ประเมินความถูกต้องของข้อมูล วิเคราะห์
เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การล าดับความตีความและ
ประเมินคุณค่าและแนวคิดที่ได้จากงานเขียนเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ เขียนย่อความ เขียนจดหมาย
กิจธุระเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆกรอกแบบสมัครงาน
พูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู พูดใน
โอกาสต่างๆ พูดโน้มน้าว โดยใช้ถ้อยค าที่ถูกต้องตามระดับภาษาพูด วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน
วิเคราะห์ระดับภาษา แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรมจากเรื่องอิศร
ญาณภาษิต บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เรื่องบทพากษ์เอราวัณ และวรรณกรรมท้องถิ่น วิเคราะห์วิถีไทย
และคุณค่า ความรู้และข้อคิดจากการอ่าน ท่องจ าและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่ก าหนด และคุณค่าบท
ร้อยกรองตามความสนใจ
ฝึกอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องต่างๆ แล้ว
เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงานวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดย
ใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์เพื่อแสดง
49
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)