Page 55 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 55

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563



                       การสื่อสารเพื่อกิจธุระ ประกอบด้วยความรู้ความเข้าใจของผู้ส่งสาร  การส่งสารให้ตรงประเด็น  การ
               ล าดับความในสาร รายละเอียดของสารที่จะส่ง  ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ความสนใจและความตั้งใจของผู้รับ

               การทบทวนให้เข้าใจตรงกัน  การใช้โทรศัพท์  การใช้โทรสาร  การใช้ไปรษณียบัตรฝึกทักษะการอ่าน การเขียน
               การวิเคราะห์ และประเมินค่าวรรณคดี  วรรณกรรม  โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง  การรับสารและ

               การส่งสารด้วยการอ่าน  วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผลและสรุปเป็นแผนภูมิความคิด
               พัฒนาทักษะการเขียนบันทึกความรู้ในสมุดบันทึก  งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ประเภทโคลงสี่สุภาพโดยใช้เทคนิค

               แผนภูมิความคิดในการวางโครงเรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในสื่อออนไลน์ รู้จักใช้ภาษา

               ในการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์บนสื่อออนไลน์
               เรียนรู้ประวัติวิวัฒนาการของวรรณคดีไทย และศึกษาโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนจากวรรณคดีไทยได้ สามารถ

               วิจักษ์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมได้  อันประกอบด้วย   มงคลสูตรค าฉันท์มหาเวสสันดรชาดก

               อิเหนา  นิทานเวตาลและนิราศนรินทร์ค าโคลง
                ตัวชี้วัด

                       ท.1.1   ม. 4-6/1   4-6/2   4-6/3    4-6/4     4-6/5    4-6/6   4-6/7    4-6/8   4-6/9
                       ท.2.1   ม. 4-6/1   4-6/3    4-6/4   4-6/5    4-6/7    4-6/8

                       ท.3.1   ม. 4-6/1   4-6/2    4-6/3    4-6/4    4-6/5   4-6/6
                       ท.4.1   ม. 4-6/3   4-6/4    4-6/5   4-6/7

                       ท.5.1   ม. 4-6/1   4-6/2     4-6/3   4-6/4   4-6/5   4-6/6

               รวม  31  ตัวชี้วัด


               รหัสวิชา ท32101                                                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

               วิชา ภาษาไทยพื้นฐาน 9                  เวลา 2  ชั่วโมง /สัปดาห์            จ านวน 1.0 หน่วยกิต
                       ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ

               วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ การเขียนเรียงความ   การ
               เขียนในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินคุณค่างานเขียน การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนบันทึกความรู้จาก

               แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และการเลือกเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดในโอกาส  ต่าง ๆ
               การศึกษาธรรมชาติของภาษา ลักษณะของภาษา การใช้ค าและกลุ่มค าสร้างประโยค วิเคราะห์   อิทธิพลของ

               ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายหลักการสร้างค าในภาษาไทย และการแต่งค าประพันธ์ประเภทร่าย

               และฉันท์
                       โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิต

               กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟัง

               และดู และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลัก
               ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและ







                                                                                                            54
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60