Page 51 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 51

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม  (ฝ่ายมัธยม)                                      ปีการศึกษา 2563


               ความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน  ตีความและประเมินคุณค่า  และแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่าง

               หลากหลาย เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยค าได้ถูกต้องตามระดับภาษาเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่า
               เหตุการณ์  ข้อคิดเห็น  และทัศนคติในเรื่องต่างๆ  เขียนจดหมายกิจธุระเขียนวิเคราะห์  วิจารณ์ และแสดง
               ความรู้  ความคิดเห็น  หรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆกรอกแบบสมัครงานแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่อง
               วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู  พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์พูดโน้มน้าวจากการฟังและดู
               วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน วิเคราะห์ระดับภาษาแต่งบทร้อยกรอง  สรุปเนื้อหาวรรณคดีวรรณกรรม
               และวรรณกรรมท้องถิ่น  วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิด
               จากการอ่าน  ท่องจ าและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่ก าหนด  และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

                       เพื่อมีนิสัยรักการอ่านและการเขียน  ฟัง  ดู  และพูดอย่างมีมารยาท  ใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
               เหมาะสม  เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม  น าความรู้และความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา
               และการด าเนินชีวิต  มีจิตสาธารณะ  รักความเป็นไทย  และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
               ตัวชี้วัด
                       ท 1.1           ม. 3/1  3/4  3/5  3/6  3/7  3/8  3/9  3/10
                       ท 2.1           ม. 3/3  3/4  3/5  3/7  3/8  3/10        ท 3.1  ม. 3/1  3/2  3/4  3/5  3/6

                       ท 4.1         ม. 3/2  3/3  3/6                    ท 5.1  ม. 3/1  3/2  3/3  3/4
               รวม  26  ตัวชี้วัด
                                                       โครงสร้างรายวิชา


               หน่วย      ชื่อหน่วย       มาตรฐาน/          สาระส าคัญ/         ความคิดรวบยอด   เวลา     น้ าหนัก
                 ที่     การเรียนรู้       ตัวชี้วัด                                          /ชั่วโมง   คะแนน


                1        เรื่องสุนทรีย  ท ๑.๑                        สุนทรียศาสตร์ทางภาษา คือ ความงดงาม  3   10
                         ศาสตร์      ม.๓/๑,๓/๔, ๓/๕,    ทางด้านการใช้ภาษาในการประพันธ์  หรือ
                         และท่วงท า  ๓/๖,๓/๗,๓/๘,        “วรรณศิลป์” เป็นลักษณะอย่างหนึ่งที่ประกอบ
                         นองใน       ๓/๙,๓/๑๐           ขึ้นด้วยความสอดคล้องกลมกลืนกันอย่างลงตัว
                         วรรณกรรม    ท ๕.๑                  โดยสุนทรียภาพหรือลักษณะกลวิธีการใช้ภาษาใน
                         ไทย         ม.๓/๑,๓/๒, ๓/๓,  ๓/๔   การประพันธ์ที่ก่อให้เกิดภูมิปัญญาทางภาษาและ
                                                        ความงามในภาษา
                                                        การอ่านท านองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงที่มี
                                                        ลีลา  จังหวะ  ท านองตามลักษณะของค า
                                                        ประพันธ์ร้อยกรองแต่ละชนิด  ถือว่าเป็นศิลปะ

                                                        ชั้นสูงในการแสดงออกซึ่งความหมายที่มีความ
                                                        ละเอียดอ่อน  เพื่อถ่ายทอดจินตนาการสู่ผู้อ่าน
                                                        และผู้ฟัง

                 2       เรื่องบทพา  ท ๕.๑                  บทพากย์เอราวัณเป็นตอนหนึ่งในวรรณคดีเรื่องรา  6   5
                         กย์เอราวัณ   ม.๓/๑,๓/๒, ๓/๓,  ๓/๔   มเกียรติ์ ใช้ส าหรับประกอบการแสดงมหรสพ

                                                        โดดเด่นทางด้านวรรณศิลป์
                                                        การใช้ถ้อยค าเพื่อพรรณนาตัวละครและฉากในท้
                                                        องเรื่องซึ่งท าให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพ
                                                        นอกจากนี้ยังปรากฏคุณค่าในด้านต่างๆ เช่น




                                                                                                            50
                                   งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56