Page 87 - แผนปฏิบัติราชการ ๒๕๖๓.indd
P. 87
การด าเนินงาน :
๑. กรณีหน่วยงาน ที่มีรายได้ ให้จัดท าแผนการเพิ่มรายได้และแผนการลดรายจ่าย คือ ๕.๓.๑.๑ และ
๕.๓.๑.๒
๒. กรณีหน่วยงาน ที่ไม่มีรายได้ ให้จัดท าเฉพาะแผนการลดรายจ่าย ๕.๓.๑.๒
เงื่อนไขตัวชี้วัด :
แผนการเพิ่มรายได้ ต้องมีแหล่งรายได้หลักจาก (๑) การเปิดหลักสูตรระยะสั้น และ (๒) รายได้จากการ วิจัย
หรือการบริการวิชาการ หรือ การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม อย่างน้อย ๑ ด้าน และต้องมีรายได้เกิดขึ้นจากทั้ง
(๑) และ (๒) จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมิน :
หน่วยงานที่มีรายได้
(๑) ค่าร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น ก าหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ เท่ากับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕
สูตรการค านวณ : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น
รายได้รวมปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๖๓ − รายได้รวมปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๖๒
× ๑๐๐
รายได้รวมปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๖๒
ตัวอย่าง
หน่วยงาน ก มีรายได้รวมตามแผนเพิ่มรายได้ปี ๒๕๖๓ จ านวน ๖,๐๐๐ บาท และมีผลการ
ด าเนินการตามแผนเพิ่มรายได้ปี ๒๕๖๒ จ านวน ๕,๐๐๐ บาท สามารถคิดเป็นร้อยละได้ ดังนี้
๖,๐๐๐ − ๕,๐๐๐
× ๑๐๐
๕,๐๐๐
เท่ากับร้อยละ ๒๐.๐๐ คะแนนที่ได้เท่ากับ ๕.๐๐๐๐ คะแนน แต่หากรายได้รวมในปี ๒๕๖๓ ของ
หน่วยงาน ก. ไม่ได้เกิดจากแหล่งรายได้บังคับตามเงื่อนไขตัวชี้วัด จะถือว่าไม่บรรลุเป้าหมายจะไม่ได้รับคะแนน
ตามเกณฑ์การประเมินนี้
ตัวอย่างการค านวณ : ร้อยละของการลดรายจ่าย
หน่วยงาน ก มีผลการเบิกจ่ายปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ร้อยละ ๙๐ ดังนั้นหากต้องลดรายจ่ายไม่น้อย
กว่า ร้อยละ ๒ หน่วยงาน ก ต้องมีผลการเบิกจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ไม่เกินร้อยละ ๘๘ จึงจะถือว่าผ่าน
เกณฑ์การประเมิน
(๒) ค่าร้อยละของรายจ่ายที่ลดลง ก าหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ เท่ากับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒
82