Page 42 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 42

37

 ๓๖                                                                                                    ๓๗



 ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำโรงเรียนสำธิตมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม (ฝ่ำยมัธยม)                           สามารถก ากับการเรียนรู้ของตนได้ การหล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้เรียนสามารถน า

 ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๖)   องค์ความรู้ไปใช้ใน การเรียนรู้ด้านวิชาชีพ และพัฒนาทักษะในการใช้ชีวิตในสังคม

 หลักกำร              การเปลี่ยนโฉมบทบาท ‘ครู’ ให้เป็นครูยุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก“ครูสอน” เป็น “โค้ช” หรือ
 ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนส าคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมาย   “ผู้อ านวยการการเรียนรู้” ซึ่งท าหน้าที่ กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะน าวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการ

 ดังนั้น จึงจ าเป็นต้องมีการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีความ  สร้างความรู้ออกแบบกิจกรรม    สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนา

 จ าเป็นที่ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพ  กระบวนการเรียนรู้เพื่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน  เพื่อใช้ในการปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูตั้งแต่การคัดสรร
 ในการพัฒนาเป็นคนดีและคนเก่ง  ตลอดจนมีคุณภาพในการพัฒนาแนวทางที่พร้อมในการขับเคลื่อนการ  ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูมืออาชีพ  นอกจากนั้นแล้วยังมีการพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การพัฒนา

 พัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มขีดความสามารถ  และให้สอดคล้องกับแนวคิดในการพัฒนาทรัพยากร  ศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือนและค่าตอบแทนในวิชาชีพ อีกทั้งมีการ
 มนุษย์ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ว่า  คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มี  สนับสนุนนวัตกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาสื่อการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 พัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อด  ระหว่างกันในชั้นเรียน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็น
 ออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง อีกทั้งมีการพัฒนา  ระบบและวัดผลงานจากการพัฒนาผู้เรียนโดยตรง

 ทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ โดยใช้ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ เพื่อใช้พัฒนาการเรียนรู้เด็ก  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จึงมุ่งพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ ที่มีเป้าหมายที่

 วัยเรียน และวัยรุ่นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทักษะการท างานและ  ผู้เรียนเป็นตัวตั้งในการพัฒนา โดยอาศัยหลักการเชื่อมความสัมพันธ์ของระบบ เป็นการพัฒนาแบบมุ่งเป้าเพื่อ
 การใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดงาน โดยปรับกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง   พัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพภายใต้การเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งอาศัยระบบหลัก

 เพื่อให้สอดคล้องกับพัฒนาการของสมองแต่ละช่วงวัย เน้นพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี    ๓ ระบบ ได้แก่ ระบบการเรียนการสอน ระบบดูแลช่วยเหลือ และระบบกิจกรรมพิเศษ อีกทั้งยังมีระบบ

 วิศวกรรมศาสตร์  คณิตศาสตร์  ศิลปะ และภาษาต่างประเทศ พร้อมทั้งสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทั้งใน  สนับสนุน ๕ ระบบได้แก่ ระบบผู้น าร่วม ระบบบุคลากร ระบบสิ่งแวดล้อม ระบบเครือข่าย  และระบบ
 และนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ ทักษะชีวิต และทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เช่น  การอ่าน   เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อยกระดับสู่โรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้และพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการ

 การบ าเพ็ญประโยชน์ทางสังคม การดูแลสุขภาพ การท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม การวางแผนชีวิต  รวมทั้งการ  จัดการเรียนรู้  โดยอาศัยประสบการณ์ ตลอดจนมีการพัฒนาการมีส่วนร่วมและให้ทัดเทียมสมรรถนะกับ
 พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตส านึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มี  โรงเรียนในระดับชาติและนานาชาติ

 ทักษะความรู้  และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ปัจจุบัน  ส าหรับการปฏิรูป  ปรัชญำ
 กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ นั้นจะมุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้   "วิชาการที่เต็มที่ อยู่ในคนที่เต็มคน"

 และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา เพท่อน าไปใช้ในการพัฒนาการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่การเปลี่ยนบทบาท

 ครู อีกทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้าง  อัตลักษณ์
                      "กล้าคิด กล้าท า กล้าน า มีคุณธรรม และจิตอาสา"
 การตื่นรู้เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ อีกทั้งยังเป็นการวางต าแหน่งของประเทศไทย

 ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ตลอดจนประชาคมโลก เพื่อใช้เป็นแนวการวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้  เอกลักษณ์

 ดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ    “เป็นสถาบันที่จัดการเรียนการสอนได้เต็มศักยภาพ”

 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะส าหรับศตวรรษที่ ๒๑ โดยการออกแบบ

 กระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับชั้นอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นการใช้
 ฐานความรู้   ระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ เช่น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และการตั้งค าถาม ความเข้าใจ

 และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์   การคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา ความรู้และ

 ทักษะทางศิลปะ  ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และระบบคิดของเหตุผล   และการหาความสัมพันธ์การพัฒนาระบบ
 การเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติ  มีการสะท้อนความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง การสร้างผู้เรียนให้
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47