Page 43 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 2563-2566.indd
P. 43
38
๓๘ ๓๙
เป้ำหมำย ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
๑. เพื่อเป็นสถานศึกษาของบุตรข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัยและลูกจ้างประจ า ของ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ยุทธศำสตร์ที่ ๑ กำรพัฒนำระบบกำรเรียนกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ
๒. เพื่อเป็นโรงเรียนต้นแบบและสร้างเครือข่ายที่มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ อันเหมาะแก่การพัฒนา
สังคมไทยในปัจจุบันและอนาคต มุ่งพัฒนาการสร้างสรรค์ระบบการจัดการเรียนการสอนให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ที่เอื้อต่อการ
๓. เพื่อเป็นแหล่งวิจัยและพัฒนาการจัดการการเรียนรู้ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของอาจารย์ พัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
และนักเรียนให้นักเรียนเป็นผู้ ใฝ่รู้คู่คุณธรรมอย่างแท้จริง Learning Community) ที่อาศัยกระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson study) เป็นหลัก โดยครูจะได้มีโอการ
๔. เพื่อเป็นการบริการการศึกษาระดับมัธยมศึกษาให้กับเยาวชน เปิดชั้นเรียนพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกันและการสะท้อนคิดจากผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นวิธีการที่ทรงพลังในยุค
๕. เพื่อเป็นสถานศึกษาส าหรับบริการวิชาการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ แห่งการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ การใช้ข้อสอบมาตรฐานกลางของโรงเรียนในการวัดและประเมินผล
การออกแบบการแข่งขันความเป็นเลิศ การสร้างต ารา หนังสือเรียนที่มีคุณภาพ ตลอดจนการพัฒนาการบูรณา
พันธกิจ การภาษาอังกฤษในการเรียนต่าง ๆ ในทุกห้องเรียน
พันธกิจหลักที่โรงเรียนเน้นในการด าเนิน การมีดังนี้ เป้ำประสงค์
๑. เป็นสถาบันต้นแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
มาตรฐานสากล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community)
๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ สอดคล้องกับแผนการศึกษาของชาติ ๒. โรงเรียนมีข้อสอบมาตรฐานกลางในการวัดและประเมินผลในการประเมินปลายปีการศึกษา
๓. ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ๓. โรงเรียนมีกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทางการศึกษา
๔. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ๔. โรงเรียนมีเอกสารประกอบการสอนที่มีคุณภาพ
สามารถตรวจสอบได้ ๕. การบูรณาการภาษาอังกฤษในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ
๕. พัฒนาความร่วมมือด้านเครือข่ายทางวิชาการระหว่างองค์กรทั้งในและต่างประเทศ และท านุบ ารุง
ศิลปวัฒนธรรม กลยุทธ์
๑. มีการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) โดยอาศัย
วิสัยทัศน์
กระบวนการศึกษาชั้นเรียน (Lesson study) เป็นหลัก
เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถก ากับการเรียนรู้ ๒. ใช้ข้อสอบมาตรฐานกลางของโรงเรียน (Test Blue Print) ในการวัดและประเมินผลในการ
ของตนเอง การหล่อหลอมทักษะการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งการเรียนรู้ด้านวิชาชีพและทักษะ ประเมินปลายปีการศึกษา
ชีวิต ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ๓. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความเป็นเลิศทางการศึกษา
๔. ส่งเสริมการพัฒนาเอกสารและแบบเรียนที่มีคุณภาพ
๕. ส่งเสริมการเรียนรู้แบบการบูรณาการภาษาอังกฤษในรายวิชาอื่นๆ ในทุกห้องเรียน (English
Integrated Study)