Page 91 - หลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2563
P. 91
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2563
สถิติ (3) แผนภาพกล่อง การอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่องโดยจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้
พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์การใช้สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และแหล่งข้อมูล
และน าประสบการณ์ ตลอดจนทักษะและกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ใน
ชีวิตประจ าวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถท างานอย่างเป็น
ระบบ มีความรอบคอบและมีวิจารณญาณการวัดผลประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็น
จริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.3/1, ม.3/2 ค 1.3 ม.3/1, ม.3/2 ค 2.2 ม.3/1 ค 3.1 ม.3/1
รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา
ชื่อหน่วย เวลา น้ าหนัก
หน่วยที่ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1 อสมการเชิงเส้นตั ค 1.3 ม.3/1 ค าตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 15 20
วแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการอาจมีค าตอบหรือไม่มีค าตอบก็ได้
2 การแยกตัวประก พหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองอาจเขียนให้อยู่ในรูปผลคูณของ 9 10
อบของพหุนามที่ ค 1.2 ม.3/1 พหุนามที่มีดีกรีต่ ากว่า
มีดีกรีสูงกว่าสอง โดยใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองและการแย
กตัวประกอบของพหุนามดีกรีสาม
และสมบัติของการด าเนินการของจ านวนจริง
3 สมการก าลังสอง สมการก าลังสองตัวแปรเดียว เมื่อจัดให้อยู่ในรูปทั่วไปแล้ว 16 20
ตัวแปรเดียว ค 1.3 ม.3/2 มีลักษณะส าคัญคือ เป็นสมการที่มีตัวแปรเพียงตัวเดียว
และเลขชี้ก าลังสูงสุดของตัวแปรเป็น 2
สมการก าลังสองตัวแปรเดียวอาจมี 2 ค าตอบ หรือ 1
ค าตอบ หรือไม่มีค าตอบก็ได้
4 ความคล้าย รูปเรขาคณิตสองรูปเป็นรูปที่คล้ายกัน 17 20
ค 2.2 ม.3/1 เมื่อรูปเรขาคณิตทั้งสองนั้นมีรูปร่างเหมือนกัน
แต่อาจมีขนาดเท่ากันหรือแตกต่างกันก็ได้
การตรวจสอบว่า
รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันไม่จ าเป็นต้องตรวจสอบครบ
ทุกเงื่อนไข เพียงแค่มีมุมที่มีขนาดเท่ากันเป็นคู่
สามคู่หรือมีอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันทุ
กคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน เพียงเงื่อนไขเดียวก็เพียงพอ
2
5 กราฟของฟังก์ชัน ฟังก์ชันก าลังสองที่อยู่ในรูป y = ax + bx + c เมื่อ a, b, 13 20
ก าลังสอง ค 1.2 ม.3/2 c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 มีกราฟเป็นพาราโบลา
เราสามารถใช้ฟังก์ชันก าลังสองในการจ าลองปัญหาหรือสถ
านการณ์และใช้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะของกราฟในการหา
ค าตอบ
90
งานหลักสูตรสถานศึกษา ฝ่ายวิชาการและวิจัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)